ปวช. ปวส. ย่อมาจากอะไร & รวมตัวย่อวุฒิการศึกษาไทย เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวนักศึกษาปวส.มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งรับน้องโหดจนเป็นข่าวฉาวดังทั่วประเทศ จากข่าวดังกล่าวมีประเด็นที่น่าสนใจนอกจากความรุนแรงในรั้วมหาวิทยาลัย
สุภาษิตไทยเกี่ยวกับการเมือง ณ เวลานี้คงไม่มีอะไรเป็นประเด็นร้อนที่ประชาชนให้ความสนใจเท่ากับข่าวการเมืองอีกแล้ว เรื่องของการเมืองเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันมานานไม่รู้จบสิ้นในสังคมไทย ต่างคนก็ต่างมุมมองความคิด แต่วันนี้เราไม่ได้มาพูดถึงเหตุการณ์บ้านเมืองแต่อย่างใด เพียงแต่เราจะหยิบยกสุภาษิต สำนวนไทยที่เข้ากับการเมืองไทยในช่วงนี้มาให้คุณผู้อ่านได้ลองขบคิดตามกัน
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำราชาศัพท์ ที่ใช้กับ พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในภาษาไทยจึงมีการกำหนดถ้อยคำไว้จำนวนหนึ่งสำหรับใช้กับภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพระภิกษุอยู่ในฐานะที่เป็นผู้สืบพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ทรงศีล สามารถเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ จึงควรใช้ภาษาด้วยถ้อยคำสุภาพและถูกต้องตามกาลเทศะ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเคารพนับถือ
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
รวม 50 สำนวนไทย พร้อมความหมายน่ารู้ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรงๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ ซึ่งเป็นข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน ส่วนใหญ่เป็นสำนวนที่เกิดจากวัฒนธรรมและพฤติกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทย
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 2) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 3) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง