Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน - แปลเพลง หลังจากเปิดตัวเพลงมาได้ไม่นาน ก้องหล้า ยอดจำปาหรือก้องห้วยไร่ก็โด่งดังเป็นพลุแตกด้วยบทเพลง ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน ที่คนร้องได้ทั่วบ้านทั่วเมือง แต่ด้วยเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอีสานนั้นทำให้หลายคนยังสงสัยและไม่เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
การใช้สระไอ ใอ ไอย อัย ภาษาไทยนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนภาษาหนึ่งในโลกและวันนี้เราจะมาพูดถึงความแตกต่างในการใช้สระที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันอย่างไอ ใอ ไอย อัย
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด สร้างตัว พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย ต่างกันอย่างไร? หลายคนต่างสงสัยว่า สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย นั้นต่างกันอย่างไรหรือว่าเป็นอันเดียวกันเลย เพราะว่าแทบจะแยกความแตกต่างไม่ออกเลย ซึ่งพอพิจารณาดี ๆ แล้วก็พอจะดูออกว่าต่างกันอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/
คำที่มีตัวการันต์ ตัวการันต์ คือ คำที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ ( ์ ) กำกับอยู่บนพยัญชนะ เพื่อแสดงให้รู้ว่าไม่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น และรวมคำที่มีตัวการันต์ทั้งหมดมาไว้ในบทความแล้ว
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
Silent letter (พยัญชนะไม่ออกเสียง) ในภาษาอังกฤษนั้นก็มีหลายคำเช่นกันที่เขียนหลายตัวเหลือเกิน แต่พออ่านออกเสียงแล้วกลับออกเสียงแค่บางตัว คล้ายๆ กับตัวการันต์ในภาษาไทยแต่ต่างตรงที่ว่าภาษาอังกฤษไม่ได้มีสัญลักษณ์กำหนดไว้ว่าตัวไหนจะต้องออกเสียงหรือไม่ออก มีวิธีเดียวในการสังเกตนั่นก็คือจำนั่นเอง วันนี้เราเลยจะพามาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงหรือที่เรียกว่า Silent letter