บัณฑิต ตรงกับคำไหนในภาษาบาลีและสันสกฤต คำไทยนั้นมีการยืมคำจากภาษาอื่นมาเยอะมาโดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต และคำว่าบัณทิตก็เป็นคำยืมคำหนึ่ง
โกดัง หรือ คลังสินค้า แท้จริงแล้วมาจากคำนี้ เมื่อวานไปคุยงานกับลูกค้าเกี่ยวกับระบบการจัดการโกดังสินค้า เลยสะกิดใจว่าและระลึกออกว่าทำไมถึงเรียกว่า "โกดัง"
30 คำสแลงยอดนิยมในภาษาไทย คำสแลง หมายถึง ภาษาสแลง คำสแลง หรือคำคะนอง ถ้อยคำที่เป็นภาษาพูดและใช้ในกลุ่มคนบางกลุ่ม (Slang)
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
คำราชาศัพท์ หมวดสัตว์และเบ็ดเตล็ด คำราชาศัพท์ หมวดสัตว์และเบ็ดเตล็ด ประกอบไปด้วย กระบือ แปลว่า ควาย; กล้วยเปลือกบาง, กล้วยกะ แปลว่า กล้วยไข่; กล้วยสั้น แปลว่า กล้วยกุ
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
อักษรย่อตำแหน่งต่าง ๆ และคำนำหน้าชื่อ อักษรย่อเองก็ไม่ต่างจากศัพท์เทคนิคหรือศัพท์เฉพาะ ถ้าคนที่ไม่คุ้นเคยหรือไม่ได้อยู่ในแวดวงที่ใช้คำเหล่านั้นย่อมไม่ทราบความหมายหรือคำเต็ม อาจเกิดการเข้าใจและนำไปใช้ผิดได้
ทันการ, ทันกาล และทันการณ์ คำไหนถูก คำในภาษาไทยมักสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้อยู่เสมอ แม้แต่คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นประจำอย่างเรา ๆ ในบางครั้งยังเกิดความไม่แน่ใจว่าคำนั้นต้องเขียนและสะกดอย่างไรให้ถูกต้อง
หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
Present perfect กับการใช้ Already, Ever, Never และ Yet ในประโยคที่อยู่ใน tense Present Perfect มักจะมีคำกริยาวิเศษณ์ที่อยู่ระหว่างประโยคเพื่อให้ความหมายที่ชัดแจ้งขึ้น ได้แก่คำว่า Already, Yet, Ever และ Never ไปดูกันเลยว่าใช้ยังไง
คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 และรวมทุกนายกที่ผ่านมา วันเด็กแห่งชาติ ของประเทศไทย ตรงกับวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคมของทุกปี จะมีการให้ คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2498 โดยได้กำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม เป็นวันเด็กแห่งชาติ