คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
อนุญาต หรือ อนุญาติ เขียนแบบไหน คำไหนถูก? อนุญาต เขียนแบบนี้ ไม่มีสระอิ แต่หลายคนเขียนผิดเป็น อนุญาติ เยอะมากอาจจะเพราะสับสนกับ ญาติ; อนุญาต หมายความว่า ยินยอม, ยอมให้, ตกลง
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน
บัณฑิต ตรงกับคำไหนในภาษาบาลีและสันสกฤต คำไทยนั้นมีการยืมคำจากภาษาอื่นมาเยอะมาโดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต และคำว่าบัณทิตก็เป็นคำยืมคำหนึ่ง
"สะเหล่อ" กับ "เสร่อ" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง สะเหล่อ กับ เสร่อ คำไหนที่ถูกต้อง?
ทันการ, ทันกาล และทันการณ์ คำไหนถูก คำในภาษาไทยมักสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้อยู่เสมอ แม้แต่คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นประจำอย่างเรา ๆ ในบางครั้งยังเกิดความไม่แน่ใจว่าคำนั้นต้องเขียนและสะกดอย่างไรให้ถูกต้อง
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
"อนุญาต" "ขออนุญาต" กับ "อนุญาติ" "ขออนุญาติ" คำไหนนะที่ถูกต้อง มีเคล็ดลับในการจำไว้ง่าย ๆ ทำได้โดยท่องไว้เลยว่า อนุญาต หรือ ขออนุญาต นั้นไม่ใช่ "ญาติ" ไม่เกี่ยวกับ "ญาติ"
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก
กะเพรา กระเพรา กะเพา เขียนอย่างไรจึงจะมีความหมายถูกต้อง กะเพรา หรือ กระเพรา อีกหนึ่งคำศัพท์ที่เรามักจะสับสนจนทำให้เขียนผิดอยู่เรื่อย ๆ แล้วตกลงคำไหนถูกกันหล่ะ ในบทความนี้มีคำตอบ
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง รสชาติ กับ รสชาด เป็นคำที่เขียนผิดกันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจริง ๆ แล้ว รสชาติ เป็นคำที่ถูก โดยจะอ่านออกเสียงว่า รด-ชาด