เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน "เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน" หมายถึง เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา (การสะสมหรือเก็บออมทรัพย์ไว้ทีละเล็กทีละน้อยจนมีมากขึ้น)
เก็บหอมรอมริบ หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สุภาษิต "เก็บหอมรอมริบ" หมายถึง เก็บรวบรวมไว้ทีละเล็กละน้อย ในที่สุดก็จะเพิ่มพูนขึ้นเป็นจำนวนมาก
80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
กบในกะลาครอบ หมายถึงอะไร กบในกะลาครอบ หมายถึง ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อย แต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก
ประกาศผลการร่วมกิจกรรมแจกสติกเกอร์ครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการตอบแทนทุกท่านที่ให้กำลังใจในการทำเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเพจ Wordy Guru มาเป็นอย่างดี ทางทีมงานจึงอยากจะขอตอบแทนเป็นของขวัญเล็ก ๆ น้อย ๆ กลับคืนบ้าง
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
การใช้ This – That / These – Those วันนี้เราจะมาเรียนรู้กันเรื่องง่ายๆที่อาจมีหลายคนสับสนเกี่ยวกับการใช้ This – That / These – Those 4 คำเหล่านี้ เรื่องนี้ถือเป็นเรื่องที่ง่ายมากๆแต่ก็สร้างความสับสนให้บางคนไม่น้อย วันนี้เราจึงอยากหยิบเรื่องง่ายๆนี้มาอธิบายให้แจ่มแจ้งกันไปเลยว่า4คำนี้ใช้ต่างกันอย่างไร มาดูกันเลย
10 ศัพท์อังกฤษที่ชอบออกเสียงผิดตอนเป็นเด็ก เรื่องปกติของเด็กที่ไม่ได้เกิดมาเป็น English native แบบคนไทยเรา ย่อมมีวัยเด็กที่รู้หลักการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษที่ยังน้อยนิด แต่ไปเจอศัพท์ที่ยากและออกเสียงแบบแหกกฎ พอนึกย้อนกลับไปนี่ก็ตลกตัวเองอยู่เหมือนกันว่าตอนนั้นทำไมอ่านแบบนั้นหล่ะ
หลักการสื่อสารกันของมนุษย์ ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้น มนุษย์ก็จะใช้วิธีการต่างๆ ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง การติดต่อสื่อสารกันเป็นกระบวนการของมนุษย์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น อารมณ์ ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน วันนี้เราจะนำหลักการเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสื่อสารมาให้ผู้อ่านได้ศึกษา
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน