ที่มาของสำนวนไทย วันนี้เราจะมาดูกันว่าสำนวนไทยนั้นมีที่มาจากอะไรกันได้บ้าง ซึ่งสำนวนไทยมีจำนวนมากมายและมีที่มาที่หลากหลายประเภท ผมได้รวบรวมประเภทที่มาและตัวอย่างไว้ให้ในบทความนี้
75 คำภาษาไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทยถือได้ว่าเป็นภาษาที่ยากมาก ๆ มีพยัญชนะ สระ ตัวสะกดมากมายและหลักภาษาเองก็มีความซับซ้อน จนบางทีไม่รู้ว่าคำ ๆ นี้ควรออกเสียงยังไง
"คำเป็น" กับ "คำตาย" พร้อมตัวอย่าง หลักภาษาไทยมีคำและหลักภาษาต่าง ๆ มากมายซึ่งมีความยากและซับซ้อน และวันนี้เราก็จะมานำเสนอเรื่อง คำเป็น-คำตาย ว่าคำเหล่านี้คือคำอะไร ใช้อย่างไร มีความจำเป็นอย่างไร
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
20 คำศัพท์ฮิตติดปากของเหล่าเกมเมอร์ ทุกวันนี้มีคำที่ฟังดูแปลก ๆ เกิดขึ้นมากมายในการสื่อสารทั้งการสนทนาต่อหน้า และในโซเชียลมีเดีย หนึ่งในนั้นก็เป็นกลุ่มคำศัพท์ที่นักเล่นเกมใช้กัน เรียกได้ว่าเป็นคำสแลงที่รู้ความหมายกันในวงจำกัด
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
ชื่อและตัวย่อภาษาอังกฤษระดับวุฒิปริญญาตรีของคณะต่าง ๆ ในไทย ในประเทศไทยมีคณะสาขาการเรียนมากมาย เราก็จะรู้จักเพียงคณะสาขาของตัวเองและคณะยอดนิยมเท่านั้น ซึ่งก็มีหลายคนที่อาจจะยังไม่รู้ว่าวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีในประเทศไทยมีอะไรบ้าง มีชื่อเต็มและชื่อย่อว่าอย่างไร
คำไวพจน์ที่พบบ่อย หลายคนคงเคยประสบพบเจอปัญหาสับสนกับคำในภาษาไทยที่มีมากมายเหลือเกิน ทั้งที่บางคำก็เป็นคำที่มีความหมายถึงสิ่งเดียวกันแท้ ๆ เมื่อพูดถึงคำที่มีความหมายเหมือนกันแต่วิธีการเขียนและอ่านต่างกัน ในภาษาไทยเราจะเรียกว่า “คำไวพจน์”
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำราชาศัพท์ ที่ใช้กับ พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในภาษาไทยจึงมีการกำหนดถ้อยคำไว้จำนวนหนึ่งสำหรับใช้กับภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพระภิกษุอยู่ในฐานะที่เป็นผู้สืบพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ทรงศีล สามารถเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ จึงควรใช้ภาษาด้วยถ้อยคำสุภาพและถูกต้องตามกาลเทศะ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเคารพนับถือ
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง