ตำแหน่ง เจ้าคุณพระ ที่มาแต่อดีต ตั้งแต่โบราณ เปิดความรู้เรื่องยศ เจ้าคุณพระ หรือ พระสนมเอก ภายหลังการสถาปนา เจ้าคุณพระสินีนาฏ ในปีพ.ศ. 2562
คำไทยโบราณที่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน ในปัจจุบันศัพท์วัยรุ่นแปลก ๆ โผล่มาให้เห็นกันบ่อยทั้งจากการเพี้ยนเสียง แฝงความหมายอื่นไว้ในคำศัพท์นั้น ไม่ว่าจะเป็นคำว่าลำไย นก บ่องตง จุงเบย ฯลฯ วันนี้เราจึงจะหันมาดูคำศัพท์ภาษาไทยเก่าๆแปลกๆกันบ้างที่หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินเลยด้วยซ้ำและไม่ค่อยมีคนใช้กันแล้วในปัจจุบัน เพื่อจะได้เพิ่มความรู้และฟื้นฟูความจำกัน มาดูว่าเรามีคำน่าสนใจไหนมาฝากกันบ้าง
ส้มเหม็น คืออะไร ในตำรับโบราณ มีการใช้รสเปรี้ยวที่หลากหลาย และส้มเหม็นก็เป็นหนึ่งในวัตถุดิบของการทำอาหารที่มีรสเปรี้ยว
ความหมายของคำว่า "ออเจ้า" มองไปทางไหนก็เห็นแต่คนพูดถึงกระแสความดังของละครบุพเพสันนิวาส นาทีนี้คงต้องยกให้ละครเรื่องนี้จริงๆที่ทำให้สถานที่ท่องเที่ยวและคำเก่าในสมัยโบราณโดยเฉพาะคำเรียกคนอื่นอย่างคำว่า’’ออเจ้า’’เป็นกระแสขึ้นมาอย่างน่าประหลาดใจ ถ้าจะไม่พูดถึงความหมายของคำนี้ก็เห็นจะไม่ได้แล้ววันนี้เราจึงจะมาอธิบายถึงคำว่าออเจ้าว่ามีความหมายว่าอย่างไร
รวบรวม 20 สำนวนไทย รู้เอาไว้ ทันสมัยตลอดกาล จะกี่ยุคกี่สมัย ไม่ว่าจะเป็นหนุ่มสาว หรือผู้หลักผู้ใหญ่ก็นิยมใช้สำนวนไทยอยู่เรื่อย ๆ แบบว่าเป็นเจ้าบทเจ้ากลอนก็คงไม่ผิดนัก แม้จะพูดจาหรือสั่งสอนใคร ก็มักจะอ้างเอาสำนวน สุภาษิต หรือคำพังเพยที่พูดต่อ ๆ กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณมาเปรียบเทียบเปรียบเปรยเสมอ ซึ่งคำเหล่านี้มักจะเป็นคำที่คล้องจองกัน ทำให้จดจำได้ง่ายและเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดำตับเป็ด เป็นคำด่าหรือเป็นคำชม คำว่าดำตับเป็ดนั้นแท้จริงแล้วเป็นคำด่าหรือเป็นคำชมกันแน่ โดยคนส่วนมากในสมัยนี้จะเข้าใจคำนี้ว่าเป็นคำด่า เนื่องจากได้ยินคำว่า อีดำตับเป็ด ๆ อยู่เนือง ๆ งั้นวันนี้เรามาดูกันว่า ดำตับเป็ด นั้นหมายความว่าอย่างไร
คำสแลงไทยที่นิยมใช้และพบเห็นบ่อย ในยุคสมัยนี้มีหลายคำที่ฟังดูแปลก ๆ เกิดขึ้นใหม่ในสังคมไทยหลายคำ จนบางทีที่หลายคนอาจไม่เข้าใจความหมาย หรือสงสัยว่าเป็นคำจากภาษาอื่น
ตำนานนางนพมาศที่เกี่ยวข้องกับวันลอยกระทง เมื่อถึงเดือนพฤศจิกายนของทุกปีทุกคนก็ต้องนึกถึงเทศกาลลอยกระทง ซึ่งเป็นประเพณีของชาวไทยที่มีมาอย่างยาวนาน เชื่อว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย วันลอยกระทงเป็นอีกหนึ่งวันสำคัญของคนไทยที่มีความเชื่อว่าเป็นการขอขมาและบูชาพระแม่คงคาที่เราได้ใช้น้ำมาตลอดทั้งปี
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย