กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
คำสแลงไทยที่นิยมใช้และพบเห็นบ่อย ในยุคสมัยนี้มีหลายคำที่ฟังดูแปลก ๆ เกิดขึ้นใหม่ในสังคมไทยหลายคำ จนบางทีที่หลายคนอาจไม่เข้าใจความหมาย หรือสงสัยว่าเป็นคำจากภาษาอื่น
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึงอะไร อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึง อย่าวางใจหรือไว้วางใจใครคนอื่นง่ายเกินไป จะเป็นเราที่เดือดร้อนในภายหลังได้
โกดัง หรือ คลังสินค้า แท้จริงแล้วมาจากคำนี้ เมื่อวานไปคุยงานกับลูกค้าเกี่ยวกับระบบการจัดการโกดังสินค้า เลยสะกิดใจว่าและระลึกออกว่าทำไมถึงเรียกว่า "โกดัง"
ทูลเกล้าฯ อ่านว่าอย่างไร วันนี้เราจะพาไปดูคำในภาษาไทยที่แปลกอีกหนึ่งคำ คือมีรูปคำที่ถูกย่อ แต่พออ่านแล้วต้องอ่านเต็ม ๆ คำ นั่นก็คือคำว่า ทูลเกล้าฯ
กำสรด อ่านว่าอย่างไร น่าจะเคยมีความสงสัยกันแน่นอนว่า กำสรด นั้นอ่านออกเสียงยังไง จะให้อ่านว่า กำ-สด กำ-สฺรด กำ-สะ-รด หรือ กำ-สะ-หฺรด กันแน่
คำไทยโบราณที่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน ในปัจจุบันศัพท์วัยรุ่นแปลก ๆ โผล่มาให้เห็นกันบ่อยทั้งจากการเพี้ยนเสียง แฝงความหมายอื่นไว้ในคำศัพท์นั้น ไม่ว่าจะเป็นคำว่าลำไย นก บ่องตง จุงเบย ฯลฯ วันนี้เราจึงจะหันมาดูคำศัพท์ภาษาไทยเก่าๆแปลกๆกันบ้างที่หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินเลยด้วยซ้ำและไม่ค่อยมีคนใช้กันแล้วในปัจจุบัน เพื่อจะได้เพิ่มความรู้และฟื้นฟูความจำกัน มาดูว่าเรามีคำน่าสนใจไหนมาฝากกันบ้าง
ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน - แปลเพลง หลังจากเปิดตัวเพลงมาได้ไม่นาน ก้องหล้า ยอดจำปาหรือก้องห้วยไร่ก็โด่งดังเป็นพลุแตกด้วยบทเพลง ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน ที่คนร้องได้ทั่วบ้านทั่วเมือง แต่ด้วยเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอีสานนั้นทำให้หลายคนยังสงสัยและไม่เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด
สาเหตุการเกิดภาษา หลายคนอาจจะเคยสงสัยว่าภาษาไทยที่เราใช้สื่อสารกันในทุกวันนี้มีที่มาอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบกันจากบทความนี้ มาดูกันว่าภาษาเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน