ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
กริยาช่อง 2 (verb2) คืออะไร? กริยาช่อง 2 - Verb 2 เป็นหนึ่งในคำกริยาในภาษาอังกฤษที่ถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่อง โดยที่กริยาช่อง 2 (verb v.2) นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
กริยาช่อง 3 สัปดาห์ก่อนเราได้รู้จักกริยาช่อง 2 ไปแล้ว วันนี้เรามารู้จักกริยาช่อง 3 หรือกริยาช่องที่ 3 จากเรื่องกริยา 3 ช่อง กันต่อเลย เนื่องด้วยในภาษาอังกฤษแบ่งคำกริยาออกเป็น 3 ช่อง เพื่อแบ่งแยกและบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา 3 ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยที่กริยาช่อง 3 นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต แล้วมันจะต่างอะไรกับกริยาช่องที่ 2 หล่ะ เดี๋ยววันนี้เราไปดูรายละเอียดกันเลยดีกว่า