"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ปลา" มัจฉา มัสยา มัจฉาชาติ มิต ชลจร วารีชาติ อัมพุชา มีน มีนา ปุถุโลม
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้
What goes around comes around แปลว่า? What goes around, comes around. เป็นสำนวนที่ใช้กันบ่อยพอสมควรนะครับ มันมีความหมายตรงกับสำนวนไทยที่กล่าวไว้ว่า "กงเกวียนกำเกวียน"
30 คำกล่าวบอกลาภาษาอังกฤษ นอกจาก Good bye พวกเราชาวไทยมักจะชินกับการกล่าวคำอำลาภาษาอังกฤษที่มีคำว่า Bye อยู่ด้วย อาจจะเพราะด้วยความง่ายต่อการใช้ และไม่ต้องคิดอะไรมาก มันติดปากหน่ะแหละ
แจกกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ท่องจำง่าย พร้อมคำแปล กริยา 3 ช่อง ภาษาอังกฤษ ท่องจำง่ายๆ ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน เรียนรู้เรื่อยๆ พอคุ้นแล้วก็จะเห็นเองว่ามันจำได้ง่ายๆ ขนาดไหน เพราะที่ต้องจำจริงๆ มีเพียงไม่กี่คำ
คำบุพบท หลายคนอาจสงสัยว่าคำบุพบทนั้นนำไปใช้อย่างไร วันนี้เราจะมาพูดถึงคำบุพบท คำบุพบท เป็นอย่างไร มีหน้าที่อะไรกันแน่ แล้วมันช่วยให้ประโยคของเราเป็นอย่างไร วันนี้ทุก ๆ คนจะได้คำตอบกันอย่างแน่นอนครับ เอาละเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา เราไปดูส่วนประกอบของคำบุพบทกันเลยดีกว่า
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
ปดิวรัดา เมื่อวานเห็นโฆษณาในทีวีช่อง 3 HD มีละครเรื่องหนึ่งที่พยายามจะการยังไงก็อ่านไม่ออก เพราะด้วยการสะกดและการรูปแบบที่แปลกตา ตอนอ่านผ่าน ๆ อ่านได้ว่า ปะ ดิว รัด ดา แต่ก็ยังรู้สึกขัด ๆ ว่ามันไม่น่าจะใช่แบบนี้นะ เลยพยายามค้นหาจนได้คำอ่านที่ถูกต้องและความหมายมาด้วย ดังนี้