กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
"คำเป็น" กับ "คำตาย" พร้อมตัวอย่าง หลักภาษาไทยมีคำและหลักภาษาต่าง ๆ มากมายซึ่งมีความยากและซับซ้อน และวันนี้เราก็จะมานำเสนอเรื่อง คำเป็น-คำตาย ว่าคำเหล่านี้คือคำอะไร ใช้อย่างไร มีความจำเป็นอย่างไร
เซ็งแซ่ ความหมายและประโยคสั้น ๆ เรามาดูความหมายของคำว่าเซ็งแซ่กันหน่อย และดูตัวอย่างประโยคเกี่ยวกับเซ็งแซ่ ต่อกันด้วย จะได้นำเอาไปใช้งานได้ถูกหลักและตรงความหมาย
คำสันธาน มาพบกันอีกครั้งกับบทความเรื่องที่เกี่ยวกับความรู้ในหลักภาษาไทยอีกเช่นเคย วันนี้เราจะหยิบยกเรื่อง คำสันธาน มาฝากผู้อ่านกัน
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 2) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง
การใช้สระ หากกล่าวถึงหลักภาษาสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ สระ หลายคนรู้จักสระในภาษาไทยกันดี แต่รู้การใช้สระหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบนั้น มาดูกันเลย
วิธีใช้ราชาศัพท์ ในบทความก่อนหน้าเรารู้แล้วว่าคำราชาศัพท์คืออะไร เพราะอะไรจึงมีคำราชาศัพท์ วันนี้เราจะมารู้จักหลักและวิธีการใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามแบบและกาลเทศะ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเรามาเริ่มเรียนรู้วิธีการใช้คำราชาศัพท์กันเลย
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
75 คำภาษาไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทยถือได้ว่าเป็นภาษาที่ยากมาก ๆ มีพยัญชนะ สระ ตัวสะกดมากมายและหลักภาษาเองก็มีความซับซ้อน จนบางทีไม่รู้ว่าคำ ๆ นี้ควรออกเสียงยังไง
มะล่องก่องแก่ง - พจน์ สายอินดี้ - แปลเพลง กลายเป็นเพลงสุดฮิต ดังชั่วข้ามคืน ยืนยันด้วยยอดวิวที่ขึ้นหลักล้านโดยใช้เวลาไม่กี่วัน หลังจากที่โซเชียลมีเดียมีการแชร์เพลง “มะล่องก่องแก่ง” ของ พจน์ สายอินดี้
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย