คำศัพท์ในโรงพยาบาล ช่วงนี้กำลังเข้าสู่ช่วงเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เป็นการเข้าสู่ช่วงฤดูฝน หลายที่ก็น้ำท่วมให้เห็นไปแล้ว การเดินทางก็ไม่สะดวกเท่าที่คสร ส่วนเรื่องสุขภาพ หลายคนก็จะเริ่มมีอาการ หรือเริ่มแพ้อากาศกันบ้างแล้ว วันนี้เรามาเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับโรงพยาบาลกันดีกว่าจะได้เก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้
ผู้ช่วยพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษออนไลน์ ฟรี! สวัสดีจ้า ช่วงนี้ก็เปิดเทอมกันมาได้สักพักละ เห็นหลายคนกำลังค้นหาคำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อไปท่องเตรียมสอบหรือทำรายงานส่งอาจารย์กัน ทาง wordy guru ได้รับคำแนะนำจากเพื่อน ๆ ว่ามีเว็บเปิดใหม่ที่รวบรวมคำศัพท์ไว้ให้เป็นหมวดหมู่เยอะเลย แถมยังมีอัปเดตตามเหตุการณ์ ทันสถานการณ์อีกด้วย ทางทีมงานจึงได้เข้าไปตรวจสอบดู และเห็นว่าน่าจะมีปีะโยชน์ โดยได้ขออนุญาตทางนู้นแล้วว่าจะขอเอามารีวิวหน่อย เผื่อเป็นประโยชน์กับเพื่อน ๆ ของ wordyguru.com
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
คำบุพบท หลายคนอาจสงสัยว่าคำบุพบทนั้นนำไปใช้อย่างไร วันนี้เราจะมาพูดถึงคำบุพบท คำบุพบท เป็นอย่างไร มีหน้าที่อะไรกันแน่ แล้วมันช่วยให้ประโยคของเราเป็นอย่างไร วันนี้ทุก ๆ คนจะได้คำตอบกันอย่างแน่นอนครับ เอาละเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา เราไปดูส่วนประกอบของคำบุพบทกันเลยดีกว่า
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
คำไวพจน์ คืออะไร รวมคำพ้องความหมายที่ใช้บ่อย คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ