การันต์ ไม่เท่ากับ ทัณฑฆาต ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ทัณฑฆาต กับ การันต์ แยกออกจากกัน ไม่ใช่ตัวเดียวกัน เครื่องหมายนี้ ( ์ ) เรียกว่า ทัณฑฆาต หรือ ไม้ทัณฑฆาต
คำทักทายภาษาอาเซียน ปัจจุบันประเทศไทยถือว่าได้เปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนอย่างสมบูรณ์แล้วเพราะฉนั้นการเรียนรู้ในเรื่องสื่อสารจึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป และวันนี้เรามีคำทักทายของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ชาติอาเซียน ได้แก่ ประเทศบรูไน พม่า กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม มาฝากกัน
เกร็ดความรู้จากละครข้ามสีทันดร วันนี้เราจะขอพูดถึงละครที่กำลังออนแอร์ในขณะนี้ของพระเอกสุดฮอตอย่างหนุ่มโป๊ป ธนวรรธน์นั้นก็คือเรื่องข้ามสีทันดรนั้นเอง ซึ่งละครเรื่องนี้ถือว่าเป็นละครสะท้อนปัญหาสังคมน้ำดีเรื่องหนึ่งเลยก็ว่าได้นอกจากจะได้ความสนุกแล้วยังได้ข้อคิดสะท้อนปัญหาครอบครัวอีกด้วย เมื่อละครดีขนาดนี้เราจึงอยากมานำเสนอสาระเกร็ดความรู้เกี่ยวกับละครเรื่องนี้ให้ทุกคนได้รู้กัน มาดูกันเลยดีกว่า
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 4 : Locative prefixes Locative prefixes หรือส่วนเติมข้างหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับสถานที่ หากใครยังไม่เข้าใจ หรือลืมไปแล้วว่า prefixes คืออะไร เรามาทวนกันอีกครั้งครับ
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์ คือ การถอดอักษรในภาษาเดิม และเขียนให้อยู่ในรูปภาษาไทยที่อ่านได้สะดวกและเข้าใจ ซึ่งจะมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ได้
คําพังเพย หมายถึง? คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ เพื่อชวนให้คิด ถ้านำมาใช้ให้เหมาะกับเรื่องที่กำลังพูดกัน จะทำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
50 สำนวนสุภาษิตไทย 50 สำนวนสุภาษิตไทย ที่คงจะคุ้นหูกันดีอยู่แล้ว แต่อยากให้ทำความเข้าใจถึงความหมายอันลึกซึ้ง และนำไปใช้ให้ถูกกับสถานการณ์
อักษรย่อหน่วยงานราชการของไทย วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของหน่วยงานในประเทศไทยที่คาดว่าจะต้องได้เจอบ่อย ๆ มาให้ได้เรียนรู้ว่าชื่อเต็มจริง ๆ แล้วนั้นคืออะไรจะได้ไม่เกิดการเข้าใจผิดและใช้ได้อย่างถูกต้อง
คำสแลงไทยที่นิยมใช้และพบเห็นบ่อย ในยุคสมัยนี้มีหลายคำที่ฟังดูแปลก ๆ เกิดขึ้นใหม่ในสังคมไทยหลายคำ จนบางทีที่หลายคนอาจไม่เข้าใจความหมาย หรือสงสัยว่าเป็นคำจากภาษาอื่น
สำนวนไทยพร้อมความหมาย พูดถึงสำนวนคนไทยเองก็ได้สร้างสรรค์สำนวนหรือวลีแทนประโยคที่ต้องการจะสื่อได้อย่างน่าสนใจและเกิดภาพให้เข้าใจ ถ้าอย่างนั้นลองมาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้างที่อาจจะคุ้นหูคุ้นตา