10 ศัพท์อังกฤษที่ชอบออกเสียงผิดตอนเป็นเด็ก เรื่องปกติของเด็กที่ไม่ได้เกิดมาเป็น English native แบบคนไทยเรา ย่อมมีวัยเด็กที่รู้หลักการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษที่ยังน้อยนิด แต่ไปเจอศัพท์ที่ยากและออกเสียงแบบแหกกฎ พอนึกย้อนกลับไปนี่ก็ตลกตัวเองอยู่เหมือนกันว่าตอนนั้นทำไมอ่านแบบนั้นหล่ะ
การใช้ ร หัน(รร) หลายๆคน อาจจะเคยมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการอ่านคำที่มี รร (ร หัน) มาก่อน เช่น คำว่า กรรไกร ขรรค์ เป็นต้น ซึ่งคำพวกนี้จะอ่านยากนิดหน่อยครับ วันนี้เราจะมาสรุปสั้นๆ การใช้ รร กันครับ เอาละจะได้ไม่เสียเวลามาดูกันเลย
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
วันฮาโลวีน กับ ตำนานฟักทอง Jack O’Lantern เทศกาลฮาโลวีนวนรอบกลับมาถึงอีกแล้ว และทุกครั้งที่นึกถึงฮาโลวีน เราก็ต้องนึกถึงตะเกียงฟักทองคู่กันเสมอ
10 ประโยคภาษาอังกฤษ เมื่อรับสายคนโทรผิด หลายคนคงมีประสบการณ์การรับสายเบอร์แปลกซึ่งก็เป็นคนรู้จักที่เปลี่ยนเบอร์ใหม่ บางทีเขาก็โทรมาผิดเบอร์ ถ้าเขาเป็นคนไทยก็คงมีประโยคสุภาพ ๆ ตอบกลับไม่ยากอะไร แต่ถ้าเป็นชาวต่างชาติที่พูดภาษาอังกฤษหล่ะ
Silent letter (พยัญชนะไม่ออกเสียง) ในภาษาอังกฤษนั้นก็มีหลายคำเช่นกันที่เขียนหลายตัวเหลือเกิน แต่พออ่านออกเสียงแล้วกลับออกเสียงแค่บางตัว คล้ายๆ กับตัวการันต์ในภาษาไทยแต่ต่างตรงที่ว่าภาษาอังกฤษไม่ได้มีสัญลักษณ์กำหนดไว้ว่าตัวไหนจะต้องออกเสียงหรือไม่ออก มีวิธีเดียวในการสังเกตนั่นก็คือจำนั่นเอง วันนี้เราเลยจะพามาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงหรือที่เรียกว่า Silent letter
คำไทยโบราณที่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน ในปัจจุบันศัพท์วัยรุ่นแปลก ๆ โผล่มาให้เห็นกันบ่อยทั้งจากการเพี้ยนเสียง แฝงความหมายอื่นไว้ในคำศัพท์นั้น ไม่ว่าจะเป็นคำว่าลำไย นก บ่องตง จุงเบย ฯลฯ วันนี้เราจึงจะหันมาดูคำศัพท์ภาษาไทยเก่าๆแปลกๆกันบ้างที่หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินเลยด้วยซ้ำและไม่ค่อยมีคนใช้กันแล้วในปัจจุบัน เพื่อจะได้เพิ่มความรู้และฟื้นฟูความจำกัน มาดูว่าเรามีคำน่าสนใจไหนมาฝากกันบ้าง
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง