หลักการสื่อสารกันของมนุษย์ ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้น มนุษย์ก็จะใช้วิธีการต่างๆ ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง การติดต่อสื่อสารกันเป็นกระบวนการของมนุษย์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น อารมณ์ ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน วันนี้เราจะนำหลักการเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสื่อสารมาให้ผู้อ่านได้ศึกษา
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
คำภาษาอังกฤษในภาษาไทย ในวันนี้เราจะมาพูดถึงคำศัพท์ที่ไทยเราได้ยืมมาจากภาษาอังกฤษมาดูกันว่ามีคำไหนและหลักการอย่างไรบ้างมาดูกันเลย
การใช้ Pronoun จากบทความก่อนๆเราได้นำเสนอไปแล้วว่า Pronoun นั้นคืออะไรและมีคำไหนบ้าง วันนี้เราจึงจะมานำเสนอเกี่ยวกับหลักการใช้ Pronoun ให้ได้รู้จักอย่างคร่าวๆกันก่อน ซึ่งหลักการใช้ง่าย ๆ มีดังนี้
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่มักเขียนผิด การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ คือ การถอดอักษร หรือแปลงข้อความจากภาษาอังกฤษมาเป็นภาษาไทยของเราอย่างมีหลักการ เพื่อให้สามารถเขียนคำในภาษาอังกฤษด้วยภาษาไทยได้สะดวก และคนไทยสามารถอ่านได้
หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
กริยา 3 ช่อง จำได้แม่น! รวมกฎและข้อยกเว้น กริยา 3 ช่องนั้นคือ ชุดคำกริยาภาษาอังกฤษที่มีอยู่ 3 ช่อง 3 รูปแบบ ซึ่งเป็นคำเรียกในภาษาไทยนะ ส่วนภาษาอังกฤษจะเป็นหลักการใช้คำกริยาตาม Tense เท่านั้นเอง
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
คำอวยพรแก่ผู้ใหญ่ สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงกันในหัวข้อคำกล่าวอวยพรที่เราจะกล่าวให้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุมากกว่าเรานั้นว่ามีหลักการสำคัญที่ต้องคำนึงถึงอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับคนไทย เพราะคนไทยเรานั้นถือเรื่องมารยาทและการให้ความเคารพคนที่มีอายุมากกว่า (มีอาวุโสกว่านั่นแหละ) เป็นสำคัญ ดังนั้นเรามาดูกันเลยว่าการจะกล่าวอวยพรแก่ผู้หลักผู้ใหญ่หรือคนที่มีอายุมากกว่าเรานั้นมีอะไรที่ต้องเรียนรู้บ้าง
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ