พุทธศาสนสุภาษิต หมวด พิเศษสำหรับบุคคลทั่วไป พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน