ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
คำในภาษาไทยที่อ่านยาก ระดับปราบเซียน! เราจึงได้รวบรวมคำในภาษาไทยที่คิดว่าทำให้หลายคนเกิดปัญหาอ่านไม่ออกหรือสะกดไม่ได้ ซึ่งก็มีหลายคำเลยทีเดียว มาดูกันเลยว่ามีคำไหนบ้าง
คำที่มีตัวการันต์ ตัวการันต์ คือ คำที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ ( ์ ) กำกับอยู่บนพยัญชนะ เพื่อแสดงให้รู้ว่าไม่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น และรวมคำที่มีตัวการันต์ทั้งหมดมาไว้ในบทความแล้ว
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
ชื่อและตัวย่อภาษาอังกฤษระดับวุฒิปริญญาตรีของคณะต่าง ๆ ในไทย ในประเทศไทยมีคณะสาขาการเรียนมากมาย เราก็จะรู้จักเพียงคณะสาขาของตัวเองและคณะยอดนิยมเท่านั้น ซึ่งก็มีหลายคนที่อาจจะยังไม่รู้ว่าวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีในประเทศไทยมีอะไรบ้าง มีชื่อเต็มและชื่อย่อว่าอย่างไร
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้