มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ - คำนามที่เป็นชื่อสิ่งของสำคัญที่ควรยกย่อง มีคำเติมหน้า ได้แก่ พระบรมมหาราช, พระบรมมหา, พระบรมราช, พระบรม, พระอัคราช, พระอัคร และพระมหา
จังไร กับ จัญไร เมื่อวานเกิดเหตุการณ์โต้เถียงกันขึ้นในระหว่างการทำงาน เพราะมีน้องคนหนึ่งเล่าเรื่องสัปดลขึ้นมา ความบันเทิงเลยเกิดขึ้น ด้วยแต่ละคนต่างด่าว่า "จังไรจังเลย" แต่มีเสียงจากพี่คนนึงว่า "จัญไร" เลยโต้เถียงกันต่อว่าตกลง จังไร หรือ จัญไร เป็นคำที่ถูกต้อง
ความหมายและรายละเอียดคำว่า แม่พิมพ์ เราทุกคนเกิดมาล้วนมีแบบอย่างในการใช้ชีวิตและคนที่ชี้แนะ อบรม สั่งสอนให้เติบโตขึ้นมา คนที่ทำให้เราเติบโตขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพเหล่านี้จึงสมควรได้รับการยกย่องและเคารพนับถือ หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า”แม่พิมพ์” “พ่อพิมพ์”ของชาติและทราบความหมายของคำนี้ดี แต่วันนี้เราจะพามาดูความหมายอย่างระเอียดของคำนี้
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
คำไวพจน์ คืออะไร รวมคำพ้องความหมายที่ใช้บ่อย คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ