คำราชาศัพท์ ที่ใช้กับ พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในภาษาไทยจึงมีการกำหนดถ้อยคำไว้จำนวนหนึ่งสำหรับใช้กับภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพระภิกษุอยู่ในฐานะที่เป็นผู้สืบพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ทรงศีล สามารถเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ จึงควรใช้ภาษาด้วยถ้อยคำสุภาพและถูกต้องตามกาลเทศะ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเคารพนับถือ
ผู้หมั่นในการงาน จึงควรอยู่ในราชการ ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ จัดการงานเรียบร้อย จึงควรอยู่ในราชการ
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"
คำอวยพรแก่ผู้ใหญ่ สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงกันในหัวข้อคำกล่าวอวยพรที่เราจะกล่าวให้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุมากกว่าเรานั้นว่ามีหลักการสำคัญที่ต้องคำนึงถึงอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับคนไทย เพราะคนไทยเรานั้นถือเรื่องมารยาทและการให้ความเคารพคนที่มีอายุมากกว่า (มีอาวุโสกว่านั่นแหละ) เป็นสำคัญ ดังนั้นเรามาดูกันเลยว่าการจะกล่าวอวยพรแก่ผู้หลักผู้ใหญ่หรือคนที่มีอายุมากกว่าเรานั้นมีอะไรที่ต้องเรียนรู้บ้าง
คำสนธิ คืออะไร วันนี้เราจะนำความรู้ในเรื่องของคำในภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ศึกษาเกี่ยวกับคำสนธิว่าคำสนธินั้นคืออะไรมีไว้เพื่ออะไร เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเรามาเรียนรู้กันเลย
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
คำสันธาน มาพบกันอีกครั้งกับบทความเรื่องที่เกี่ยวกับความรู้ในหลักภาษาไทยอีกเช่นเคย วันนี้เราจะหยิบยกเรื่อง คำสันธาน มาฝากผู้อ่านกัน
คนโง่ได้ยศก็ไม่เกิดประโยชน์ ผู้มีปัญญาทรามได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อความเบียดเบียนตน และคนอื่น
100 คำไทยที่มักเขียนผิด คำในภาษาไทยถือได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่ยากที่สุด ทั้งพยัญชนะ สระ ล้วนแล้วแต่สร้างความสับสนให้กับผู้เขียน หรือคําทับศัพท์เองก็มีเยอะจนไม่รู้ว่าหากนำมาเขียนเป็นภาษาไทยจะเขียนอย่างไร