การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
คำไวพจน์: นกยูง - คำไวพจน์ของ นกยูง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "นกยูง" คือ เมารี โมร โมรี โมเรส กระโงก กุโงก มยุรา มยุระ มยุเรศ มยุรี มยุร
วรรณคดี หมายถึงอะไร? เรียนรู้ภาษาไทยในวันนี้ เรามาทำความรู้จักกับ “วรรณคดี” กันนะครับ ว่ามีความหมายว่าอย่างไร และมีกี่ประเภท
"อนุญาต" "ขออนุญาต" กับ "อนุญาติ" "ขออนุญาติ" คำไหนนะที่ถูกต้อง มีเคล็ดลับในการจำไว้ง่าย ๆ ทำได้โดยท่องไว้เลยว่า อนุญาต หรือ ขออนุญาต นั้นไม่ใช่ "ญาติ" ไม่เกี่ยวกับ "ญาติ"
What goes around comes around แปลว่า? What goes around, comes around. เป็นสำนวนที่ใช้กันบ่อยพอสมควรนะครับ มันมีความหมายตรงกับสำนวนไทยที่กล่าวไว้ว่า "กงเกวียนกำเกวียน"
คู่คอง - ก้อง ห้วยไร่ | Ost.นาคี - แปลเพลง คำว่า (คู่)คอง : คอง, คองถ่า เป็นภาษาอีสานที่แปลว่า รอ,ตั้งหน้าตั้งตารอ ซึ่งไม่ได้มาจากคำว่า คู่ครอง นะจ๊ะ
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
กริยา 3 ช่อง จำได้แม่น! รวมกฎและข้อยกเว้น กริยา 3 ช่องนั้นคือ ชุดคำกริยาภาษาอังกฤษที่มีอยู่ 3 ช่อง 3 รูปแบบ ซึ่งเป็นคำเรียกในภาษาไทยนะ ส่วนภาษาอังกฤษจะเป็นหลักการใช้คำกริยาตาม Tense เท่านั้นเอง
10 คำภาษาลาวที่เดาไม่ออก เดาออกก็ผิดไปไกล ภาษาลาวมีความใกล้เคียงกับภาษาไทยมาก จนบางครั้งแทบจะฟังออกแบบไม่ต้องแปลก็ยังได้ เพราะด้วยความที่เราเป็นบ้านใกล้เรือนเคียงกัน และภาษาลาวเองมีความคล้ายคลึงกับภาษาอีสานเป็นอย่างมาก ไม่แปลกที่เราจะพอเดาออก แล้วรู้มั้ยว่าคนลาวเองก็ฟังภาษาไทยรู้เรื่องบ้างอยู่เหมือนกันนะ แต่ก็นั่นแหละมันก็ยังมีอีกหลายคำที่พยายามเดายังไง ก็เดาไม่ออก มาลองดูกันเลย
ปดิวรัดา เมื่อวานเห็นโฆษณาในทีวีช่อง 3 HD มีละครเรื่องหนึ่งที่พยายามจะการยังไงก็อ่านไม่ออก เพราะด้วยการสะกดและการรูปแบบที่แปลกตา ตอนอ่านผ่าน ๆ อ่านได้ว่า ปะ ดิว รัด ดา แต่ก็ยังรู้สึกขัด ๆ ว่ามันไม่น่าจะใช่แบบนี้นะ เลยพยายามค้นหาจนได้คำอ่านที่ถูกต้องและความหมายมาด้วย ดังนี้
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน