เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน "เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน" หมายถึง เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา (การสะสมหรือเก็บออมทรัพย์ไว้ทีละเล็กทีละน้อยจนมีมากขึ้น)
เก็บหอมรอมริบ หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สุภาษิต "เก็บหอมรอมริบ" หมายถึง เก็บรวบรวมไว้ทีละเล็กละน้อย ในที่สุดก็จะเพิ่มพูนขึ้นเป็นจำนวนมาก
ปดิวรัดา เมื่อวานเห็นโฆษณาในทีวีช่อง 3 HD มีละครเรื่องหนึ่งที่พยายามจะการยังไงก็อ่านไม่ออก เพราะด้วยการสะกดและการรูปแบบที่แปลกตา ตอนอ่านผ่าน ๆ อ่านได้ว่า ปะ ดิว รัด ดา แต่ก็ยังรู้สึกขัด ๆ ว่ามันไม่น่าจะใช่แบบนี้นะ เลยพยายามค้นหาจนได้คำอ่านที่ถูกต้องและความหมายมาด้วย ดังนี้
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"
20 คำศัพท์ฮิตติดปากของเหล่าเกมเมอร์ ทุกวันนี้มีคำที่ฟังดูแปลก ๆ เกิดขึ้นมากมายในการสื่อสารทั้งการสนทนาต่อหน้า และในโซเชียลมีเดีย หนึ่งในนั้นก็เป็นกลุ่มคำศัพท์ที่นักเล่นเกมใช้กัน เรียกได้ว่าเป็นคำสแลงที่รู้ความหมายกันในวงจำกัด
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง รสชาติ กับ รสชาด เป็นคำที่เขียนผิดกันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจริง ๆ แล้ว รสชาติ เป็นคำที่ถูก โดยจะอ่านออกเสียงว่า รด-ชาด
อักษรย่อหน่วยงานราชการของไทย วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของหน่วยงานในประเทศไทยที่คาดว่าจะต้องได้เจอบ่อย ๆ มาให้ได้เรียนรู้ว่าชื่อเต็มจริง ๆ แล้วนั้นคืออะไรจะได้ไม่เกิดการเข้าใจผิดและใช้ได้อย่างถูกต้อง
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
10 อันดับ ชื่อมงคลของผู้ชาย จากยอดการค้นหาเพื่อนำชื่อไปตั้งเป็นชื่อจริง จะเรียกว่าชื่อเข้าโรงเรียนนั่นแหละ ให้กับลูก ๆ เราจะนำชื่อที่นิยมและได้รับการสอบถามเข้ามาทั้งหมด 10 ชื่อ มาเปิดให้ดูกัน
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ