สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ 100 คำที่ควรรู้ คำราชาศัพท์ 100 คำที่ควรรู้ แยกตามหมวดต่าง ๆ หมวดละ 10 คำ คัดสรรมาให้เรียบร้อยทุกหมวดหมู่
การันต์ ไม่เท่ากับ ทัณฑฆาต ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ทัณฑฆาต กับ การันต์ แยกออกจากกัน ไม่ใช่ตัวเดียวกัน เครื่องหมายนี้ ( ์ ) เรียกว่า ทัณฑฆาต หรือ ไม้ทัณฑฆาต
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ สำนวนไทยเรียงตามตัวอักษร ก-ฮ พร้อมความหมาย รายคำ จัดลงตารางให้ดูได้โดยง่าย ตามที่หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย ต่างกันอย่างไร? หลายคนต่างสงสัยว่า สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย นั้นต่างกันอย่างไรหรือว่าเป็นอันเดียวกันเลย เพราะว่าแทบจะแยกความแตกต่างไม่ออกเลย ซึ่งพอพิจารณาดี ๆ แล้วก็พอจะดูออกว่าต่างกันอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
กริยา 3 ช่อง ทั้งหมด พร้อมคำอ่าน คำกริยาในภาษาอังกฤษ จะต้องเปลี่ยนรูปของคำเพื่อบอกว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด จึงเป็นที่มาของคำว่า กริยา 3 ช่อง แยกเป็น ช่อง 1 ช่อง 2 และช่อง 3
คำกริยา ทุก ๆ วันเราล้วนพบเจอกับคำศัพท์มากมายหลากหลายประเภทจนบางทีแยกไม่ออกว่าคำเหล่านั้นเป็นคำประเภทไหนและเรามักจะได้ยินกันมากคำหนึ่งก็คือคำว่า "คำกริยา" แต่หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่าคำกริยานั้นหมายถึงอะไรใช้อย่างไร วันนี้เราจะมาพูดถึงคำกริยาให้ได้เข้าใจกันอย่างถ่องแท้ว่าคำกริยานั้นเป็นอย่างไร
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย