พุทธศาสนสุภาษิต หมวด สร้างตัว พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/
คำที่มีตัวการันต์ ตัวการันต์ คือ คำที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ ( ์ ) กำกับอยู่บนพยัญชนะ เพื่อแสดงให้รู้ว่าไม่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น และรวมคำที่มีตัวการันต์ทั้งหมดมาไว้ในบทความแล้ว
Silent letter (พยัญชนะไม่ออกเสียง) ในภาษาอังกฤษนั้นก็มีหลายคำเช่นกันที่เขียนหลายตัวเหลือเกิน แต่พออ่านออกเสียงแล้วกลับออกเสียงแค่บางตัว คล้ายๆ กับตัวการันต์ในภาษาไทยแต่ต่างตรงที่ว่าภาษาอังกฤษไม่ได้มีสัญลักษณ์กำหนดไว้ว่าตัวไหนจะต้องออกเสียงหรือไม่ออก มีวิธีเดียวในการสังเกตนั่นก็คือจำนั่นเอง วันนี้เราเลยจะพามาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงหรือที่เรียกว่า Silent letter
คำราชาศัพท์ หมวด ร่างกาย ส่วนลำตัว วันนี้ได้นำเกี่ยวกับหมวดร่างกายมาฝาก แต่จะเป็นส่วนลำตัวที่มีคำราชาศัพท์หลากหลาย บางคำก็คุ้นเคยเจอบ่อย บางคำก็อาจจะพึ่งเคยเห็นกันวันนี้ และจะมีคำใดบ้างครบทุกส่วนของลำตัวหรือไม่มาดูกันเลย
อักษรย่อของอาชีพและตำแหน่งต่าง ๆ ในเรื่องของอักษรย่อนั้นมีหลายหัวข้อหลายหมวดที่คนไทยใช้ตัวอักษรย่อแทน เนื่องมาจากความสะดวก กระชับ และรวดเร็วในการเขียน หนึ่งในหมวดที่คนไทยนิยมใช้ตัวอักษรย่อแทนก็คืออาชีพ และตำแหน่งงานของบุคคล
การันต์ ไม่เท่ากับ ทัณฑฆาต ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ทัณฑฆาต กับ การันต์ แยกออกจากกัน ไม่ใช่ตัวเดียวกัน เครื่องหมายนี้ ( ์ ) เรียกว่า ทัณฑฆาต หรือ ไม้ทัณฑฆาต
อักษรย่อของมหาวิทยาลัยของรัฐ และในกำกับของรัฐทั่วประเทศ ต้อนรับเปิดเทอมด้วยเกร็ดความรู้อักษรย่อเกี่ยวกับชื่อของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยก็มีตัวย่อของตัวเองทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อความสะดวกในการเขียน วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของมหาวิทยาลัยรัฐ และในกำกับของรัฐทั่วประเทศมาให้ได้ดูกัน
ชื่อย่อจังหวัดในประเทศไทย วันนี้เรารวบรวมชื่อย่อของจังหวัดทั้ง 77 จังหวัดในประเทศไทยมาไว้ให้อ้างอิง โดยรวมกรุงเทพมหานครไว้ด้วย ข้อสังเกตุนิดนึงคือ ชื่อย่อจังหวัดนั้นจะมี 2 ตัวอักษรแต่ไม่มี จุด (.) ตามหลัง
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด