กะเพรา & คำที่ขึ้นต้นด้วย กะ หากจะพูดถึงความสับสนงงงวยทางภาษาแน่นอนว่าภาษาไทยเราต้องติดอันดับอย่างแน่นอน เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่ยากและเยอะ อย่างคำศัพท์ในบทความนี้
อนุญาต หรือ อนุญาติ เขียนแบบไหน คำไหนถูก? อนุญาต เขียนแบบนี้ ไม่มีสระอิ แต่หลายคนเขียนผิดเป็น อนุญาติ เยอะมากอาจจะเพราะสับสนกับ ญาติ; อนุญาต หมายความว่า ยินยอม, ยอมให้, ตกลง
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกเสียงคล้ายกัน สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (หรือแม้แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ก็ตาม) สิ่งที่เราเจอกันเสมอก็คือ การสับสนทางไวยากรณ์ หรือการใช้คำบางคำผิดหรือสับสน โดนเฉพาะคำที่ออกเสียงคล้ายๆ กัน
อาวุธ | ศัสตราวุธ | ศาสตราวุธ คืออะไร อาวุธ | ศัสตราวุธ | ศาสตราวุธ เป็นอีกหนึ่งชุดคำในภาษาไทยที่ได้ยินแล้วสับสนได้อยู่เรื่อย ๆ เหมือนกัน เพราะเป็นคำที่เขียนได้หลายแบบ
คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
การใช้ This – That / These – Those วันนี้เราจะมาเรียนรู้กันเรื่องง่ายๆที่อาจมีหลายคนสับสนเกี่ยวกับการใช้ This – That / These – Those 4 คำเหล่านี้ เรื่องนี้ถือเป็นเรื่องที่ง่ายมากๆแต่ก็สร้างความสับสนให้บางคนไม่น้อย วันนี้เราจึงอยากหยิบเรื่องง่ายๆนี้มาอธิบายให้แจ่มแจ้งกันไปเลยว่า4คำนี้ใช้ต่างกันอย่างไร มาดูกันเลย
ปักเป้า อ่านว่าอย่างไร สงสัยมานานแล้วว่า ปักเป้า นั้นอ่านออกเสียงอย่างไรกันแน่ เพราะได้ยินบางทีอ่านว่า ปัก-เป้า บางทีก็อ่านว่า ปัก-กะ-เป้า ทำเอาสับสน
กะเพรา กระเพรา กะเพา เขียนอย่างไรจึงจะมีความหมายถูกต้อง กะเพรา หรือ กระเพรา อีกหนึ่งคำศัพท์ที่เรามักจะสับสนจนทำให้เขียนผิดอยู่เรื่อย ๆ แล้วตกลงคำไหนถูกกันหล่ะ ในบทความนี้มีคำตอบ
100 คำไทยที่มักเขียนผิด คำในภาษาไทยถือได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่ยากที่สุด ทั้งพยัญชนะ สระ ล้วนแล้วแต่สร้างความสับสนให้กับผู้เขียน หรือคําทับศัพท์เองก็มีเยอะจนไม่รู้ว่าหากนำมาเขียนเป็นภาษาไทยจะเขียนอย่างไร
ทันการ, ทันกาล และทันการณ์ คำไหนถูก คำในภาษาไทยมักสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้อยู่เสมอ แม้แต่คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นประจำอย่างเรา ๆ ในบางครั้งยังเกิดความไม่แน่ใจว่าคำนั้นต้องเขียนและสะกดอย่างไรให้ถูกต้อง
คำไวพจน์ที่พบบ่อย หลายคนคงเคยประสบพบเจอปัญหาสับสนกับคำในภาษาไทยที่มีมากมายเหลือเกิน ทั้งที่บางคำก็เป็นคำที่มีความหมายถึงสิ่งเดียวกันแท้ ๆ เมื่อพูดถึงคำที่มีความหมายเหมือนกันแต่วิธีการเขียนและอ่านต่างกัน ในภาษาไทยเราจะเรียกว่า “คำไวพจน์”
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร