ชื่อย่อจังหวัดในประเทศไทย วันนี้เรารวบรวมชื่อย่อของจังหวัดทั้ง 77 จังหวัดในประเทศไทยมาไว้ให้อ้างอิง โดยรวมกรุงเทพมหานครไว้ด้วย ข้อสังเกตุนิดนึงคือ ชื่อย่อจังหวัดนั้นจะมี 2 ตัวอักษรแต่ไม่มี จุด (.) ตามหลัง
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ คำราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ ประกอบไปด้วย กำไลข้อพระบาท, ทองพระบาท ความหมาย กำไลข้อเท้า; ตุ้มพระกรรณ ความหมาย ต่างหู; ทองพระกร, ทองกร, พระวลัย ความหมาย กำไล; ทองพระกร, พระกำไล, พระวลัย ความหมาย กำไล
เครื่องปรับอากาศ: ระบบอินเวอร์เตอร์ (inverter) คืออะไร? อากาศร้อนแบบนี้ อยากได้เครื่องปรับอากาศสักเครื่องมาคลายร้อน แต่ก็มีข้อสงสัยว่าแล้วระบบอินเวอร์เตอร์คืออะไร มีแล้วดียังไง
มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
สรรพคุณของกะเพรา รวมทุกส่วนของผักกะเพรา หลังจากได้กล่าวถึงกะเพราหลายบทความมาแล้ว บทความนี้เราก็จะมาพูดถึงสรรพคุณของกะเพราที่มีมากกว่าการนำมาประกอบอาหาร เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้ทราบถึงข้อดีของพืชผักสมุนไพรไทย มาดูกันว่ากะเพรานั้นมีดีอย่างไรบ้าง
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"