ค้นเจอ 622 รายการ

 หรือคุณกำลังค้นหา อาทิจจวาร, อาทิตยวาร

สูรยวาร

หมายถึงน. วันอาทิตย์, อาทิจจวาร หรือ อาทิตยวาร ก็ว่า.

อาทิจจวาร

หมายถึงน. วันอาทิตย์, สูรยวาร หรือ อาทิตยวาร ก็ว่า.

อาทิตยวาร

หมายถึงน. วันอาทิตย์, สูรยวาร หรือ อาทิจจวาร ก็ว่า.

สูร

หมายถึง[สูน, สูระ] น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. (ป., ส.). ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป.; ส. ศูร).

ยวะ,ยวา

หมายถึง[ยะวะ, ยะวา] น. ข้าว, ข้าวเหนียว. (ป., ส. ยว ว่า ข้าวบาร์เลย์ เมล็ดคล้ายลูกเดือย).

สูรยมณฑล

หมายถึงน. ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยพิมพ์ ก็ว่า. (ส.; ป. สุริยมณฺฑล).

สุร-

หมายถึง[-ระ-] น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป. สูร; ส. ศูร).

สุร

หมายถึง[-ระ-] น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป. สูร; ส. ศูร).

ราพณาสูร เป็นคำที่ถูกต้อง ✅

ราพนาสูร เป็นคำที่เขียนผิด ❌

ทุกร,ทุกร-

หมายถึง[ทุกกะระ-] (แบบ) น. สิ่งที่ทำได้ยาก. (ป. ทุกฺกร).

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) และเมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).

นเรนทรสูร,นเรศ,นเรศวร,นเรศูร

หมายถึง[นะเรนทฺระสูน, นะเรด, นะเรสวน, นะเรสูน] (แบบ) น. พระราชา. (ส. นร + อินฺทฺร + สูร, นร + อีศ, นร + อีศฺวร).

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ