ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา กุมารลฬิตา, กุสุมวิจิตร, ร่ายดั้น, สุรางคนางค์, ร่ายสุภาพ, คำ, ฉบัง, จตุรงคนายก, สุรางคนา, ร่ายยาว
พระราชเสาวนีย์, พระเสาวนีย์
หมายถึงคำสั่ง
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร
คำราชาศัพท์ หมวดสัตว์และเบ็ดเตล็ด
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดอาหาร
พระบัณฑูร
พระดำรัสสั่ง
พระราโชวาท
หมายถึงคำสอน
พระราชปฏิสันถาร
หมายถึงคำทักทาย, การทักทาย เช่น กับแขกเมืองหรือพระราชอาคันตุกะ
พระวินิจฉัย
หมายถึงคำวินิจฉัย, การวินิจฉัย
พระราชโองการ
หมายถึงคำสั่งสอน
ใบปวารณา
หมายถึงคำแจ้งถวายจตุปัจจัย
คำ
หมายถึงน. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท; พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือบาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน; ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคำหนึ่ง, ลักษณนามบอกจำพวกของเคี้ยวของกิน เช่น ข้าวคำหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคำกลอนว่า คำหนึ่ง.
คำกร่อน
หมายถึง(ไว) น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ.
คำขวัญ
หมายถึงน. ถ้อยคำที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล.