ประกาศผลการร่วมกิจกรรมแจกสติกเกอร์ครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการตอบแทนทุกท่านที่ให้กำลังใจในการทำเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเพจ Wordy Guru มาเป็นอย่างดี ทางทีมงานจึงอยากจะขอตอบแทนเป็นของขวัญเล็ก ๆ น้อย ๆ กลับคืนบ้าง
อักษรย่อตำแหน่งต่าง ๆ และคำนำหน้าชื่อ อักษรย่อเองก็ไม่ต่างจากศัพท์เทคนิคหรือศัพท์เฉพาะ ถ้าคนที่ไม่คุ้นเคยหรือไม่ได้อยู่ในแวดวงที่ใช้คำเหล่านั้นย่อมไม่ทราบความหมายหรือคำเต็ม อาจเกิดการเข้าใจและนำไปใช้ผิดได้
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 3 : Prefixes of time prefixes of time หรือส่วนเติมหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับเวลานั่นเอง มาเริ่มกันเลยดีกว่า
รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดและรหัสจังหวัด เรามีชื่อจังหวัดของประเทศไทยแล้วในบทความก่อนหน้านี้ แต่ที่ยังขาดไปคือรหัสจังหวัดที่ระบุไว้ในระบบของมหาดไทย โดยถ้าสังเกตดี ๆ จะเห็นว่าเป็นเลขนำหน้ารหัสไปรษณีย์ของแต่ละจังหวัดนั่นเอง
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
ตารางกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ตารางกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ช่องที่ 1 Infinitive ช่องที่ 2 Past ช่องที่ 3 Past participle คำแปล awake awoke awoken ตื่น, be was, were been เป็น,อยู่,คือ
วิธีใช้ราชาศัพท์ ในบทความก่อนหน้าเรารู้แล้วว่าคำราชาศัพท์คืออะไร เพราะอะไรจึงมีคำราชาศัพท์ วันนี้เราจะมารู้จักหลักและวิธีการใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามแบบและกาลเทศะ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเรามาเริ่มเรียนรู้วิธีการใช้คำราชาศัพท์กันเลย
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ สำนวนไทยเรียงตามตัวอักษร ก-ฮ พร้อมความหมาย รายคำ จัดลงตารางให้ดูได้โดยง่าย ตามที่หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
กลอน MV เที่ยวไทยมีเฮ เป็นกระแสกันอยู่พอสมควรในช่วงเวลานี้เกี่ยวกับการจะแบน MV เที่ยวไทยมีเฮ ที่เอาทศกัณฐ์มาเป็นตัวเดินเรื่อง ซึ่งทาง Wordy Guru ขอมอบบทกลอนนี้ประกอบไว้ให้ลูกหลานภายภาคหน้าได้เห็นว่าปู่ย่าตายายเรามีความคิดอย่างไรกับเรื่องนี้
กริยา 3 ช่อง ทั้งหมด พร้อมคำอ่าน คำกริยาในภาษาอังกฤษ จะต้องเปลี่ยนรูปของคำเพื่อบอกว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด จึงเป็นที่มาของคำว่า กริยา 3 ช่อง แยกเป็น ช่อง 1 ช่อง 2 และช่อง 3