รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สำนวน "รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม" หมายถึง เรียนรู้ไว้ไม่หนักเรี่ยวหนักแรงหรือเสียหายอะไร
อักษรย่อตำแหน่งต่าง ๆ และคำนำหน้าชื่อ อักษรย่อเองก็ไม่ต่างจากศัพท์เทคนิคหรือศัพท์เฉพาะ ถ้าคนที่ไม่คุ้นเคยหรือไม่ได้อยู่ในแวดวงที่ใช้คำเหล่านั้นย่อมไม่ทราบความหมายหรือคำเต็ม อาจเกิดการเข้าใจและนำไปใช้ผิดได้
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 3 : Prefixes of time prefixes of time หรือส่วนเติมหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับเวลานั่นเอง มาเริ่มกันเลยดีกว่า
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดและรหัสจังหวัด เรามีชื่อจังหวัดของประเทศไทยแล้วในบทความก่อนหน้านี้ แต่ที่ยังขาดไปคือรหัสจังหวัดที่ระบุไว้ในระบบของมหาดไทย โดยถ้าสังเกตดี ๆ จะเห็นว่าเป็นเลขนำหน้ารหัสไปรษณีย์ของแต่ละจังหวัดนั่นเอง
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
วิธีใช้ราชาศัพท์ ในบทความก่อนหน้าเรารู้แล้วว่าคำราชาศัพท์คืออะไร เพราะอะไรจึงมีคำราชาศัพท์ วันนี้เราจะมารู้จักหลักและวิธีการใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามแบบและกาลเทศะ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเรามาเริ่มเรียนรู้วิธีการใช้คำราชาศัพท์กันเลย
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ สำนวนไทยเรียงตามตัวอักษร ก-ฮ พร้อมความหมาย รายคำ จัดลงตารางให้ดูได้โดยง่าย ตามที่หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
กลอน MV เที่ยวไทยมีเฮ เป็นกระแสกันอยู่พอสมควรในช่วงเวลานี้เกี่ยวกับการจะแบน MV เที่ยวไทยมีเฮ ที่เอาทศกัณฐ์มาเป็นตัวเดินเรื่อง ซึ่งทาง Wordy Guru ขอมอบบทกลอนนี้ประกอบไว้ให้ลูกหลานภายภาคหน้าได้เห็นว่าปู่ย่าตายายเรามีความคิดอย่างไรกับเรื่องนี้
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 4 : Locative prefixes Locative prefixes หรือส่วนเติมข้างหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับสถานที่ หากใครยังไม่เข้าใจ หรือลืมไปแล้วว่า prefixes คืออะไร เรามาทวนกันอีกครั้งครับ
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน