ค้นเจอ 422 รายการ

น้ำ

หมายถึงน. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยนํ้าหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส มีประโยชน์มาก เช่นใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก, โบราณถือว่าเป็น ธาตุ ๑ ในธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นนํ้าหรือเหลวเหมือนนํ้า เช่น นํ้าตา นํ้าปลา นํ้าพริก นํ้าส้ม; โดยปริยายหมายถึงคุณสมบัติที่ถือว่าเป็นสาระของสิ่งที่กล่าวถึง เช่น นํ้าคำ นํ้าใจ นํ้าพักนํ้าแรง นํ้ามือ; ความแวววาว (ใช้แก่รัตนชาติ); ลักษณนามเรียกเรือที่ใช้มาแล้ว ๒ ปี ๓ ปี ว่า เรือ ๒ นํ้า เรือ ๓ นํ้า, และที่ใช้เกี่ยวกับนํ้าหมายความว่า ครั้ง เช่น ล้าง ๓ นํ้า ต้ม ๓ นํ้า. ว. มีแสงแวววาว (ใช้แก่รัตนชาติ) เช่น เพชรนํ้าหนึ่ง ทับทิมนํ้างาม.

ใส

หมายถึงว. แจ่มกระจ่าง เช่น ฟ้าใส, ไม่ขุ่น, ไม่มัว, เช่น น้ำใส กระจกใส.

เย็น,ใส,บริสุทธิ์

ภาษาญี่ปุ่น清冽

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นせいれつ

adj-na

ใส

ภาษาเกาหลี맑다

ใส

ตรงข้ามกับดำ

ดำ

ใส

ภาษาจีน清澈透明

วิมล

หมายถึงว. ปราศจากมลทิน, ไม่มีตำหนิ, ใส, สะอาด, บริสุทธิ์, กระจ่าง, งาม. (ป., ส.).

เหม่ง

หมายถึง[เหฺม่ง] ว. ใส, เป็นมัน.

อีเทอร์

หมายถึงน. สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่ง มีสูตรทั่วไปเป็น R-O-R โดยทั่วไปมักหมายถึง ไดเอทิลอีเทอร์ ซึ่งมีสูตร C2H5-O-C2H5 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี มีขีดเดือด ๓๔.๖ °ซ. ไวไฟมาก ใช้ประโยชน์เป็นยาดมสลบ เป็นตัวทำละลาย และใช้นำไปเตรียมสารเคมีอื่น. (อ. ether).

pellucid

แปลว่าใส, โปร่งแสง

คำพ้องเสียง

หมายถึงคำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์ (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์

be transparent

แปลว่าใส

V