อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึงอะไร อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึง อย่าวางใจหรือไว้วางใจใครคนอื่นง่ายเกินไป จะเป็นเราที่เดือดร้อนในภายหลังได้
การใช้ This – That / These – Those วันนี้เราจะมาเรียนรู้กันเรื่องง่ายๆที่อาจมีหลายคนสับสนเกี่ยวกับการใช้ This – That / These – Those 4 คำเหล่านี้ เรื่องนี้ถือเป็นเรื่องที่ง่ายมากๆแต่ก็สร้างความสับสนให้บางคนไม่น้อย วันนี้เราจึงอยากหยิบเรื่องง่ายๆนี้มาอธิบายให้แจ่มแจ้งกันไปเลยว่า4คำนี้ใช้ต่างกันอย่างไร มาดูกันเลย
"อนุญาต" "ขออนุญาต" กับ "อนุญาติ" "ขออนุญาติ" คำไหนนะที่ถูกต้อง มีเคล็ดลับในการจำไว้ง่าย ๆ ทำได้โดยท่องไว้เลยว่า อนุญาต หรือ ขออนุญาต นั้นไม่ใช่ "ญาติ" ไม่เกี่ยวกับ "ญาติ"
รวมคำอวยพรวันคริสต์มาส ใกล้ถึงเทศกาลคริสต์มาสกันเข้ามาทุกที หลายคนก็กำลังหาคำอวยพรเตรียมไว้แล้วใช่มั้ยหล่ะ จริง ๆ ก็หาไม่ยากหรอก แต่เพื่อเป็นการสะดวกกับทุกคน ทีมงาน wordy guru จึงได้รวบรวมไว้ให้ เพื่อจะได้เลือก ค้นหาได้ง่าย ๆ และหยิบคำอวยพรที่นิยมใช้บ่อยที่สุด 10 อันดับมาให้ก่อน
180 สํานวนสุภาษิต พร้อมความหมาย สุภาษิตไทย คือ คำที่มุ่งสั่งสอนให้ ประพฤติปฏิบัติดี โดยเป็นเพียง คำสั้น ๆ มีความคมคาย ไพเราะ น่าฟัง จำง่าย
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
การใช้ Pronoun จากบทความก่อนๆเราได้นำเสนอไปแล้วว่า Pronoun นั้นคืออะไรและมีคำไหนบ้าง วันนี้เราจึงจะมานำเสนอเกี่ยวกับหลักการใช้ Pronoun ให้ได้รู้จักอย่างคร่าวๆกันก่อน ซึ่งหลักการใช้ง่าย ๆ มีดังนี้
คำศัพท์ในละครเรื่องบุพเพสันนิวาสที่คนมักเขียนผิด ปัจจุบันมักจะเห็นคำศัพท์ที่หลายคนเขียนผิดในโซเชียลเน็ตเวิร์คมากโดยเฉพาะในตอนนี้ที่กระแสละครบุพเพสันนิวาสกำลังมาแรงหลายคนก็มีการใช้คำศัพท์ถูก ๆ ผิด ๆ ให้เห็น วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงคำศัพท์ที่หลาย ๆ คนมักจะสับสนและสะกดผิด มาดูกันว่า 10 คำที่มักเขียนผิดมีคำไหนบ้าง
การใช้สระในภาษาไทย วันนี้ผมมีบทความเกี่ยวกับหลักภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ลองศึกษากันโดยเราจะขอพูดถึงเรื่องของสระ นั้นก็คือการใช้สระ อย่างที่เคยกล่าวว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์และมีความยากในตัว แม้กระทั่งคนไทยเองยังเกิดความสับสน ในเรื่องการใช้สระก็เช่นเดียวกันบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องง่ายและบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ยาก ผมจึงรวบรวมและสรุปสาระสำคัญเรื่องการใช้สระในภาษาไทยไว้ดังนี้
คำภาษาไทยที่มีความหมายตรงกันข้าม เราได้หยิบยกคำที่มีความหมายตรงกันข้ามมาให้ผู้อ่านทุกท่านได้ศึกษาเพิ่มเติม อาจจะดูเหมือนเป็นเรื่องที่ง่ายใคร ๆ ก็รู้แต่บางคำบางคู่ก็อาจมีคนหลงลืมจำผิดจำถูก
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
ปฐมนิเทศ คืออะไร? จะเปิดเทอมกันแล้ว หลาย ๆ คนก็รอวันนี้กันใช่ไหมหล่ะ จะได้หายเหงา เจอหน้าเพื่อน พูดคุยให้หายเฉากันซะที