ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา area, แถว, ลำเนา, ทาง, พื้น, แตบแซบ, แคบ, เสือข้างลาย, โนรี
ยี่สก
หมายถึงน. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Probarbus jullieni ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวยาวเพรียว แบนข้าง มีหนวดสั้นที่มุมปากข้างละ ๑ เส้น มีแถบสีดำเด่นพาดตามยาวเฉพาะบนลำตัว ๗-๘ แถบ ขนาดยาวกว่า ๙๐ เซนติเมตร, ยี่สกทอง ก็เรียก.
ตำหระ
หมายถึง(โบ) น. แถบ, ซีก, แปลง, (ใช้แก่ที่ดินหรือร่างกาย).
แถว
หมายถึงน. แถบ เช่น คนแถวนี้, คนหรือสิ่งที่เรียงเป็นเส้นเป็นแนว เช่น แถวทหาร.
zone
แปลว่าแบ่งเป็นเขต แนว แถบ โซนหรือภาค, แบ่งเป็นบริเวณ แถบ ภาค โซนหรือแนว
stripe
แปลว่าริ้ว, แถบ, แถบสี
quadraphonic
แปลว่าเกี่ยวกับการบันทึกหรือสร้างเสียง 4 แถบ
แถบ,ลาย,ริ้ว
ภาษาญี่ปุ่น縞
คำอ่านภาษาญี่ปุ่นしま
ลำเนา
หมายถึงน. แนว, แถว, แถบ, ถิ่น.
ทาง
หมายถึงน. ที่สำหรับเดินไปมา, แนวหรือพื้นที่สำหรับใช้สัญจร, เช่น ทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ ทางเดินรถ ทางเท้า ทางข้าม ทางร่วม ทางแยก ทางลาด ทางโค้ง; ช่อง เช่น ทางประตู ทางหน้าต่าง; โอกาส เช่น ไม่มีทางจะสำเร็จ; แนว เช่น เดินทางใน; วิธีการ เช่น ส่งเงินทางธนาณัติ; แถว, แถบ, ถิ่น, เช่น เป็นคนทางไหน; ฝ่าย, ข้าง, ส่วน, (ในลักษณะที่แยกแนวกัน) เช่น ทางผู้หญิงเขาจะว่าอย่างไร ทางเหนือ ทางโลก; แนวทางหรือแบบอย่างทางดนตรีเฉพาะของอาจารย์แต่ละคน.
แปลว่าแถบ, ส่วนพื้นที่ [โยธา] ; ภาคของโลก [ช่างก่อสร้าง] ; เขต, ชั้น [สิ่งแวดล้อมน้ำ];
Band
แปลว่าลวดลายสลับรอบอาคาร [ช่างก่อสร้าง] ; แถบ [วิชาถ่ายภาพ, การพิมพ์] ; แถบ [ความถี่], วงแถบ [คอมพิวเตอร์
ดา
หมายถึงน. ชื่อแมลงพวกมวน มีหลายสกุล, ชนิดที่ตัวกว้าง รูปไข่ แบน เมื่อพับปีก ปีกจะแนบไปกับสันหลัง ความยาวจากหัวถึงปลายปีก ๖.๒-๘.๒ เซนติเมตร ส่วนท้องกว้าง ๒.๖-๒.๘ เซนติเมตร สีนํ้าตาลแก่หรือนํ้าตาลอมเขียว ด้านหลังของส่วนอกตอนต้นมีลายเป็นแถบ ๕ แถบ คือ แมลงดา หรือ แมลงดานา (Lethocerus indicus) ใช้ตำกับนํ้าพริก กินได้; อีกสกุลหนึ่ง คือ แมลงดาสวน หรือ แมลงสีเสียด (Sphaerodema rusticum และ S. molestum) รูปร่างคล้ายแมลงดานามาก แต่เล็กกว่า ขนาดยาว ๑.๓-๑.๗ เซนติเมตร กว้าง ๐.๙ เซนติเมตร นำมาคั่วกับเกลือ กินได้; และยังมีสกุล Laccotrephes ได้แก่ชนิด L. ruber และ L. robustus ซึ่งมีลำตัวยาว ๓-๔.๔ เซนติเมตร กว้าง ๑-๑.๓ เซนติเมตร สีนํ้าตาลอมแดง มีหางยาว ๒ อัน ยาว ๑.๒-๑.๓ เซนติเมตร, สกุลนี้ แมลงดาโป้งเป้ง ดากลั้นเยี่ยว หรือ ดาเยี่ยว ก็เรียก.