10 ศัพท์อังกฤษที่ชอบออกเสียงผิดตอนเป็นเด็ก เรื่องปกติของเด็กที่ไม่ได้เกิดมาเป็น English native แบบคนไทยเรา ย่อมมีวัยเด็กที่รู้หลักการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษที่ยังน้อยนิด แต่ไปเจอศัพท์ที่ยากและออกเสียงแบบแหกกฎ พอนึกย้อนกลับไปนี่ก็ตลกตัวเองอยู่เหมือนกันว่าตอนนั้นทำไมอ่านแบบนั้นหล่ะ
คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 และรวมทุกนายกที่ผ่านมา วันเด็กแห่งชาติ ของประเทศไทย ตรงกับวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคมของทุกปี จะมีการให้ คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2498 โดยได้กำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม เป็นวันเด็กแห่งชาติ
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน "เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน" หมายถึง เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา (การสะสมหรือเก็บออมทรัพย์ไว้ทีละเล็กทีละน้อยจนมีมากขึ้น)
เก็บหอมรอมริบ หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สุภาษิต "เก็บหอมรอมริบ" หมายถึง เก็บรวบรวมไว้ทีละเล็กละน้อย ในที่สุดก็จะเพิ่มพูนขึ้นเป็นจำนวนมาก
80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
กบในกะลาครอบ หมายถึงอะไร กบในกะลาครอบ หมายถึง ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อย แต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก
ประกาศผลการร่วมกิจกรรมแจกสติกเกอร์ครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการตอบแทนทุกท่านที่ให้กำลังใจในการทำเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเพจ Wordy Guru มาเป็นอย่างดี ทางทีมงานจึงอยากจะขอตอบแทนเป็นของขวัญเล็ก ๆ น้อย ๆ กลับคืนบ้าง
คำราชาศัพท์ หมวด อวัยวะภายในร่างกาย คำราชาศัพท์เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่อยู่คู่กับภาษาไทยมาอย่างยาวนาน หากจะมองว่าไม่จำเป็นหรือไม่ใช่เนื้อหาสำคัญที่จะได้ใช้ในชีวิตประจำวันก็คงจะพูดไม่ถูกนัก เพราะคำราชาศัพท์เหล่านี้เรามักจะเจออยู่เสมอตั้งแต่เด็ก ๆ จนโต
การใช้ This – That / These – Those วันนี้เราจะมาเรียนรู้กันเรื่องง่ายๆที่อาจมีหลายคนสับสนเกี่ยวกับการใช้ This – That / These – Those 4 คำเหล่านี้ เรื่องนี้ถือเป็นเรื่องที่ง่ายมากๆแต่ก็สร้างความสับสนให้บางคนไม่น้อย วันนี้เราจึงอยากหยิบเรื่องง่ายๆนี้มาอธิบายให้แจ่มแจ้งกันไปเลยว่า4คำนี้ใช้ต่างกันอย่างไร มาดูกันเลย
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้
หลักการสื่อสารกันของมนุษย์ ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้น มนุษย์ก็จะใช้วิธีการต่างๆ ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง การติดต่อสื่อสารกันเป็นกระบวนการของมนุษย์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น อารมณ์ ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน วันนี้เราจะนำหลักการเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสื่อสารมาให้ผู้อ่านได้ศึกษา