กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
ภาษาอีสาน แอปพลิเคชันภาษาอีสาน โดยความร่วมมือระหว่าง kint studio เจ้าของ wordy guru ร่วมมือกับ esan108.com ผู้เป็นเจ้าของคลังความรู้และภูมิปัญญาอีสาน ข้อมูลที่กินที่เที่ยวครบครัน ได้จับมือกันพัฒนาคลังคำศัพท์ภาษาอีสานขึ้นมาให้สามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา เดี๋ยวมาดูกันว่าครบถ้วน และใช้งานง่ายขนาดไหน
สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย ต่างกันอย่างไร? หลายคนต่างสงสัยว่า สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย นั้นต่างกันอย่างไรหรือว่าเป็นอันเดียวกันเลย เพราะว่าแทบจะแยกความแตกต่างไม่ออกเลย ซึ่งพอพิจารณาดี ๆ แล้วก็พอจะดูออกว่าต่างกันอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
กริยาช่อง 3 สัปดาห์ก่อนเราได้รู้จักกริยาช่อง 2 ไปแล้ว วันนี้เรามารู้จักกริยาช่อง 3 หรือกริยาช่องที่ 3 จากเรื่องกริยา 3 ช่อง กันต่อเลย เนื่องด้วยในภาษาอังกฤษแบ่งคำกริยาออกเป็น 3 ช่อง เพื่อแบ่งแยกและบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา 3 ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยที่กริยาช่อง 3 นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต แล้วมันจะต่างอะไรกับกริยาช่องที่ 2 หล่ะ เดี๋ยววันนี้เราไปดูรายละเอียดกันเลยดีกว่า