คู่คอง - ก้อง ห้วยไร่ | Ost.นาคี - แปลเพลง คำว่า (คู่)คอง : คอง, คองถ่า เป็นภาษาอีสานที่แปลว่า รอ,ตั้งหน้าตั้งตารอ ซึ่งไม่ได้มาจากคำว่า คู่ครอง นะจ๊ะ
คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "วัว" คือ กระบือ กาสร ควาย คาวี โค ฉลู พฤษภ มหิงสา มหิงส์ อสุภ
คำไวพจน์: ควาย - คำไวพจน์ของ ควาย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ควาย" คือ กระบือ กาสร มหิงส์ มหิงสา มหิษ ลุลาย
คำไวพจน์: จระเข้ - คำไวพจน์ของ จระเข้ พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "จระเข้" คือ กุมภา กุมภิล กุมภีล์ ตะโขง ไอ้เคี้ยง ตะเข้ แร้ นักกะ นักระ สุงสุมาร
มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย