คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดอาหาร คำราชาศัพท์ หมวดอาหาร ประกอบไปด้วย เครื่องเสวย = ของกิน, เครื่องคาว = ของคาว, เครื่องเคียง = ของเคียง
คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ต่าง ๆ คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ต่าง ๆ ประกอบด้วย หมวดเครื่องใช้ หมวดเครื่องใช้ภายในห้องอาหาร หมวดเครื่องใช้ภายในห้องอาบน้ำ หมวดเครื่องใช้ภายในห้องแต่งตัว หมวดเครื่องใช้ภายในห้องทำงาน
เครื่องปรับอากาศ: ระบบอินเวอร์เตอร์ (inverter) คืออะไร? อากาศร้อนแบบนี้ อยากได้เครื่องปรับอากาศสักเครื่องมาคลายร้อน แต่ก็มีข้อสงสัยว่าแล้วระบบอินเวอร์เตอร์คืออะไร มีแล้วดียังไง
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดเครื่องภาชนะใช้สอย คำราชาศัพท์ หมวดเครื่องภาชนะใช้สอย ประกอบไปด้วย พระสุพรรณภาชน์ = โต๊ะทองคำสำหรับตั้งสำรับคาวหวาน, พระสุพรรณศรี = กระโถนเล็ก
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
100 คำไทยที่มักเขียนผิด คำในภาษาไทยถือได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่ยากที่สุด ทั้งพยัญชนะ สระ ล้วนแล้วแต่สร้างความสับสนให้กับผู้เขียน หรือคําทับศัพท์เองก็มีเยอะจนไม่รู้ว่าหากนำมาเขียนเป็นภาษาไทยจะเขียนอย่างไร
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์ คือ การถอดอักษรในภาษาเดิม และเขียนให้อยู่ในรูปภาษาไทยที่อ่านได้สะดวกและเข้าใจ ซึ่งจะมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ได้