อักษรย่อชื่อเดือนทั้ง 12 เดือน ใครมีปัญหาเรื่องการจำเดือนบ้าง ยกมือขึ้น!! แอดมินหล่ะคนนึงที่จำไม่ค่อยได้ วันนี้เลยเขียนโน๊ตเป็นบทความไว้ทวนความจำและเผื่อจะมีประโยชน์กับเพื่อน ๆ ท่านอื่นด้วย เอาเป็นว่าไปดูกันเลยว่าแต่ละเดือนเรียงลำดับยังไงและมีตัวย่อเป็นอะไรกันบ้าง
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
10 อันดับ ชื่อมงคลของผู้ชาย จากยอดการค้นหาเพื่อนำชื่อไปตั้งเป็นชื่อจริง จะเรียกว่าชื่อเข้าโรงเรียนนั่นแหละ ให้กับลูก ๆ เราจะนำชื่อที่นิยมและได้รับการสอบถามเข้ามาทั้งหมด 10 ชื่อ มาเปิดให้ดูกัน
อักษรย่อของมหาวิทยาลัยของรัฐ และในกำกับของรัฐทั่วประเทศ ต้อนรับเปิดเทอมด้วยเกร็ดความรู้อักษรย่อเกี่ยวกับชื่อของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยก็มีตัวย่อของตัวเองทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อความสะดวกในการเขียน วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของมหาวิทยาลัยรัฐ และในกำกับของรัฐทั่วประเทศมาให้ได้ดูกัน
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดและรหัสจังหวัด เรามีชื่อจังหวัดของประเทศไทยแล้วในบทความก่อนหน้านี้ แต่ที่ยังขาดไปคือรหัสจังหวัดที่ระบุไว้ในระบบของมหาดไทย โดยถ้าสังเกตดี ๆ จะเห็นว่าเป็นเลขนำหน้ารหัสไปรษณีย์ของแต่ละจังหวัดนั่นเอง
100 คำไทยที่มักเขียนผิด คำในภาษาไทยถือได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่ยากที่สุด ทั้งพยัญชนะ สระ ล้วนแล้วแต่สร้างความสับสนให้กับผู้เขียน หรือคําทับศัพท์เองก็มีเยอะจนไม่รู้ว่าหากนำมาเขียนเป็นภาษาไทยจะเขียนอย่างไร
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต