80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน "เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน" หมายถึง เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา (การสะสมหรือเก็บออมทรัพย์ไว้ทีละเล็กทีละน้อยจนมีมากขึ้น)
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
เก็บหอมรอมริบ หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สุภาษิต "เก็บหอมรอมริบ" หมายถึง เก็บรวบรวมไว้ทีละเล็กละน้อย ในที่สุดก็จะเพิ่มพูนขึ้นเป็นจำนวนมาก
กบในกะลาครอบ หมายถึงอะไร กบในกะลาครอบ หมายถึง ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อย แต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน
ประกาศผลการร่วมกิจกรรมแจกสติกเกอร์ครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการตอบแทนทุกท่านที่ให้กำลังใจในการทำเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเพจ Wordy Guru มาเป็นอย่างดี ทางทีมงานจึงอยากจะขอตอบแทนเป็นของขวัญเล็ก ๆ น้อย ๆ กลับคืนบ้าง
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
100 คำไทยที่มักเขียนผิด คำในภาษาไทยถือได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่ยากที่สุด ทั้งพยัญชนะ สระ ล้วนแล้วแต่สร้างความสับสนให้กับผู้เขียน หรือคําทับศัพท์เองก็มีเยอะจนไม่รู้ว่าหากนำมาเขียนเป็นภาษาไทยจะเขียนอย่างไร
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา