กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
ต้นกำเนิดความเป็นมาผัดกะเพรา เมื่อเอ่ยถึงอาหารไทยคงไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จัก "ผัดกะเพรา" ซึ่งเป็นอาหารที่คนไทยนิยมรับประทานเป็นอันดับหนึ่งเลยก็ว่าได้แต่มีใครรู้หรือไม่ว่าผัดกะเพรานั้นมีมาได้อย่างไร
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดอาหาร คำราชาศัพท์ หมวดอาหาร ประกอบไปด้วย เครื่องเสวย = ของกิน, เครื่องคาว = ของคาว, เครื่องเคียง = ของเคียง
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึงอะไร อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึง อย่าวางใจหรือไว้วางใจใครคนอื่นง่ายเกินไป จะเป็นเราที่เดือดร้อนในภายหลังได้
ชื่ออาหารที่ยืมมาจากคำภาษาจีน ภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ
โกดัง หรือ คลังสินค้า แท้จริงแล้วมาจากคำนี้ เมื่อวานไปคุยงานกับลูกค้าเกี่ยวกับระบบการจัดการโกดังสินค้า เลยสะกิดใจว่าและระลึกออกว่าทำไมถึงเรียกว่า "โกดัง"
ส้มเหม็น คืออะไร ในตำรับโบราณ มีการใช้รสเปรี้ยวที่หลากหลาย และส้มเหม็นก็เป็นหนึ่งในวัตถุดิบของการทำอาหารที่มีรสเปรี้ยว
มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
ความหมายของคำว่า "ออเจ้า" มองไปทางไหนก็เห็นแต่คนพูดถึงกระแสความดังของละครบุพเพสันนิวาส นาทีนี้คงต้องยกให้ละครเรื่องนี้จริงๆที่ทำให้สถานที่ท่องเที่ยวและคำเก่าในสมัยโบราณโดยเฉพาะคำเรียกคนอื่นอย่างคำว่า’’ออเจ้า’’เป็นกระแสขึ้นมาอย่างน่าประหลาดใจ ถ้าจะไม่พูดถึงความหมายของคำนี้ก็เห็นจะไม่ได้แล้ววันนี้เราจึงจะมาอธิบายถึงคำว่าออเจ้าว่ามีความหมายว่าอย่างไร