อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
ประกาศผลการร่วมกิจกรรมแจกสติกเกอร์ครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการตอบแทนทุกท่านที่ให้กำลังใจในการทำเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเพจ Wordy Guru มาเป็นอย่างดี ทางทีมงานจึงอยากจะขอตอบแทนเป็นของขวัญเล็ก ๆ น้อย ๆ กลับคืนบ้าง
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ปลา" มัจฉา มัสยา มัจฉาชาติ มิต ชลจร วารีชาติ อัมพุชา มีน มีนา ปุถุโลม
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
กลอน MV เที่ยวไทยมีเฮ เป็นกระแสกันอยู่พอสมควรในช่วงเวลานี้เกี่ยวกับการจะแบน MV เที่ยวไทยมีเฮ ที่เอาทศกัณฐ์มาเป็นตัวเดินเรื่อง ซึ่งทาง Wordy Guru ขอมอบบทกลอนนี้ประกอบไว้ให้ลูกหลานภายภาคหน้าได้เห็นว่าปู่ย่าตายายเรามีความคิดอย่างไรกับเรื่องนี้
วันฮาโลวีน กับ ตำนานฟักทอง Jack O’Lantern เทศกาลฮาโลวีนวนรอบกลับมาถึงอีกแล้ว และทุกครั้งที่นึกถึงฮาโลวีน เราก็ต้องนึกถึงตะเกียงฟักทองคู่กันเสมอ
80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
10 คำภาษาลาวที่เดาไม่ออก เดาออกก็ผิดไปไกล ภาษาลาวมีความใกล้เคียงกับภาษาไทยมาก จนบางครั้งแทบจะฟังออกแบบไม่ต้องแปลก็ยังได้ เพราะด้วยความที่เราเป็นบ้านใกล้เรือนเคียงกัน และภาษาลาวเองมีความคล้ายคลึงกับภาษาอีสานเป็นอย่างมาก ไม่แปลกที่เราจะพอเดาออก แล้วรู้มั้ยว่าคนลาวเองก็ฟังภาษาไทยรู้เรื่องบ้างอยู่เหมือนกันนะ แต่ก็นั่นแหละมันก็ยังมีอีกหลายคำที่พยายามเดายังไง ก็เดาไม่ออก มาลองดูกันเลย
ต้นกำเนิดความเป็นมาผัดกะเพรา เมื่อเอ่ยถึงอาหารไทยคงไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จัก "ผัดกะเพรา" ซึ่งเป็นอาหารที่คนไทยนิยมรับประทานเป็นอันดับหนึ่งเลยก็ว่าได้แต่มีใครรู้หรือไม่ว่าผัดกะเพรานั้นมีมาได้อย่างไร
ชื่ออาหารที่ยืมมาจากคำภาษาจีน ภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ