ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา อดิ, อติ, อธ., อธยาศัย, อธยาตม, กรุณาธิคุณ, อาเทศ, อัธยาศัย, อัธยาตม
อธิ
หมายถึงคำนำหน้าคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต แปลว่า ยิ่ง, ใหญ่, เช่น อธิปัญญา = ปัญญายิ่ง. (ป., ส. = ยิ่ง, ใหญ่, ทับ).
แปลว่าผู้ยิ่งใหญ่
อธยาศัย
แยกคำสมาสแบบสนธิเป็นอธิ + อาศัย
อธิก,อธิก-
หมายถึง[อะทิกะ-, อะทิกกะ-] ว. ยิ่ง, เกิน, มาก, เพิ่ม, เลิศ, ใช้ว่า อธึก ก็มี. (ป., ส.).
กรุณาธิคุณ
หมายถึงน. คุณอันยิ่งใหญ่ คือ กรุณา. (ป. กรุณา + อธิ + คุณ).
อธยาตม
แยกคำสมาสแบบสนธิเป็นอธิ + อาตม
อาเทศ
หมายถึง[-เทด] น. การแปลงหรือแผลงพยัญชนะและสระตามข้อบังคับแห่งไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สมบัติ + อภิบาล อาเทศสระอิ ที่ ติ เป็น ย แล้วสนธิกับ อภิบาล เป็น สมบัตยาภิบาล, ธนุ + อาคม อาเทศสระอุ ที่ นุ เป็น ว แล้วสนธิกับ อาคม เป็น ธันวาคม, อธิ + อาสัย อาเทศอธิ เป็น อัชฌ แล้วสนธิกับ อาสัย เป็น อัชฌาสัย. (ส.; ป. อาเทส).
อัธยาศัย
อัธยาตม
อธิกันต์
แปลว่าผู้น่ารักยิ่ง
อธิน
แปลว่าเชื่อฟัง, ว่านอนสอนง่าย