ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา รติกานต์, อติกันต์, อมรกานต์, ฐิติกานต์, ศศิกานต์, รวิกานต์, อธิกันต์, ชนิกานต์, อมลกานต์, หริกานต์, โชติกานต์
อติกานต์
แปลว่าผู้เป็นที่รักยิ่ง
อติ
หมายถึง[อะติ] คำนำหน้าคำที่มาจากบาลีและสันสกฤตให้มีใจความว่า พิเศษ, ยิ่ง, มาก, เลิศล้น; ผ่าน, ล่วง, พ้นเลยไป, เขียนเป็น อดิ ก็มี. (ป., ส.).
อ่านว่าอะ-ติ
อติกันต์
แปลว่าน่ารักยิ่ง
กานต์
หมายถึง(แบบ) ว. เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น จันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟได้. (ส.).
แปลว่าน่ารัก, น่าพึงใจ
อติเทพ
หมายถึงน. เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น ๆ.
อติชญา
แปลว่าผู้มีความรู้ดียิ่ง
อติภา
แปลว่ามีรัศมีสว่างไสวยิ่ง
อติรุจ
แปลว่าผู้สง่างามยิ่ง
อดิ
หมายถึงดู อติ.
อติชา
แปลว่าเกิดมาเลิศกว่าพงศ์พันธุ์