พุทธศาสนสุภาษิต หมวด ธรรม พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด ธรรมเบื้องต้น พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"
สุภาษิตไทย รู้ไว้ ไม่ล้าสมัย สุภาษิต หมายถึง คำกล่าวที่ดีงาม มักเป็นคำสั่งสอน แนะนำให้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ หรือละเว้นจากการทำความชั่ว เป็นต้น ดังนั้น สรุปได้ว่า สุภาษิตไทย คือ คำที่มุ่งสั่งสอนให้ ประพฤติปฏิบัติดี โดยเป็นเพียง คำสั้นๆ มีความคมคาย ไพเราะ น่าฟัง จำง่าย
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
"คำเป็น" กับ "คำตาย" พร้อมตัวอย่าง หลักภาษาไทยมีคำและหลักภาษาต่าง ๆ มากมายซึ่งมีความยากและซับซ้อน และวันนี้เราก็จะมานำเสนอเรื่อง คำเป็น-คำตาย ว่าคำเหล่านี้คือคำอะไร ใช้อย่างไร มีความจำเป็นอย่างไร
คำสันธาน มาพบกันอีกครั้งกับบทความเรื่องที่เกี่ยวกับความรู้ในหลักภาษาไทยอีกเช่นเคย วันนี้เราจะหยิบยกเรื่อง คำสันธาน มาฝากผู้อ่านกัน
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
วิธีใช้ราชาศัพท์ ในบทความก่อนหน้าเรารู้แล้วว่าคำราชาศัพท์คืออะไร เพราะอะไรจึงมีคำราชาศัพท์ วันนี้เราจะมารู้จักหลักและวิธีการใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามแบบและกาลเทศะ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเรามาเริ่มเรียนรู้วิธีการใช้คำราชาศัพท์กันเลย
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
การใช้สระ หากกล่าวถึงหลักภาษาสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ สระ หลายคนรู้จักสระในภาษาไทยกันดี แต่รู้การใช้สระหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบนั้น มาดูกันเลย