หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
หลักการสื่อสารกันของมนุษย์ ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้น มนุษย์ก็จะใช้วิธีการต่างๆ ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง การติดต่อสื่อสารกันเป็นกระบวนการของมนุษย์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น อารมณ์ ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน วันนี้เราจะนำหลักการเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสื่อสารมาให้ผู้อ่านได้ศึกษา
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์ คือ การถอดอักษรในภาษาเดิม และเขียนให้อยู่ในรูปภาษาไทยที่อ่านได้สะดวกและเข้าใจ ซึ่งจะมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ได้