บัณฑิต ตรงกับคำไหนในภาษาบาลีและสันสกฤต คำไทยนั้นมีการยืมคำจากภาษาอื่นมาเยอะมาโดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต และคำว่าบัณทิตก็เป็นคำยืมคำหนึ่ง
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
เซ็งแซ่ ความหมายและประโยคสั้น ๆ เรามาดูความหมายของคำว่าเซ็งแซ่กันหน่อย และดูตัวอย่างประโยคเกี่ยวกับเซ็งแซ่ ต่อกันด้วย จะได้นำเอาไปใช้งานได้ถูกหลักและตรงความหมาย
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
What goes around comes around แปลว่า? What goes around, comes around. เป็นสำนวนที่ใช้กันบ่อยพอสมควรนะครับ มันมีความหมายตรงกับสำนวนไทยที่กล่าวไว้ว่า "กงเกวียนกำเกวียน"
คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 และรวมทุกนายกที่ผ่านมา วันเด็กแห่งชาติ ของประเทศไทย ตรงกับวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคมของทุกปี จะมีการให้ คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2498 โดยได้กำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม เป็นวันเด็กแห่งชาติ
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
50 สำนวนไทย ที่ได้ยินบ่อย ๆ สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ มาพบกันคราวนี้มีเรื่องเกี่ยวกับสำนวนไทยมาฝากให้ได้ศึกษากันครับ การนำถ้อยคำสำนวนไปใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสมตรงกับวัตถุประสงค์ กาลเทศะและบุคคลก็ย่อมต้องรู้ความหมายของสำนวนนั้นด้วยถึงจะใช้ได้ถูกต้อง วันนี้เราจึงนำ 50 สำนวนที่ได้ยินบ่อย ๆ มาบอกความหมาย มาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้าง
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน
Silent letter (พยัญชนะไม่ออกเสียง) ในภาษาอังกฤษนั้นก็มีหลายคำเช่นกันที่เขียนหลายตัวเหลือเกิน แต่พออ่านออกเสียงแล้วกลับออกเสียงแค่บางตัว คล้ายๆ กับตัวการันต์ในภาษาไทยแต่ต่างตรงที่ว่าภาษาอังกฤษไม่ได้มีสัญลักษณ์กำหนดไว้ว่าตัวไหนจะต้องออกเสียงหรือไม่ออก มีวิธีเดียวในการสังเกตนั่นก็คือจำนั่นเอง วันนี้เราเลยจะพามาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงหรือที่เรียกว่า Silent letter