ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
ลักษณะนาม หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผิดและงงกับลักษณะนามของการเรียกสิ่งต่างๆ เรียกว่าอย่างไรกันแน่ วันนี้มาดูกันว่าคำนามเหล่านี้จะมีลักษณะนามเรียกว่าอย่างไร
อักษร ๓ หมู่ เมื่อกล่าวถึงอักษร ๓ หมู่ จะเข้าใจตรงกันว่า ไตรยางศ์ แปลว่า ๓ ส่วน เป็นชื่อเรียกการจำแนกอักษร ๓ หมู่ ได้แก่ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ำ แต่ทั้งสามนี้มีลักษณะอย่างไร เราจะได้รู้ต่อไปในบทความนี้
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
คำควบกล้ำ หรือ อักษรควบ ภาษาไทยเป็นอีกหนึ่งภาษาที่มีการออกเสียงยากมาก ๆ และหนึ่งในนั้น การออกเสียงคำควบกล้ำก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุ วันนี้เราจึงได้นำเรื่องคำควบกล้ำมาฝากกันว่ามีลักษณะอย่างไร มีคำอะไรบ้างไปดูกัน
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก
45 คำพังเพยไทย คำพังเพย เป็นการกล่าวเปรียบเทียบ(อุปมา) ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มีที่มาจากคำกล่าวต่อ ๆ กันมาช้านาน จากเหตุการณ์ในวิถีชีวิตของคนรุ่นก่อน ๆ ซึ่งมีความหมายแฝง มีลักษณะคล้ายภาษิต
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด พิเศษสำหรับบุคคลทั่วไป พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์