อักษรย่อหน่วยงานราชการของไทย วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของหน่วยงานในประเทศไทยที่คาดว่าจะต้องได้เจอบ่อย ๆ มาให้ได้เรียนรู้ว่าชื่อเต็มจริง ๆ แล้วนั้นคืออะไรจะได้ไม่เกิดการเข้าใจผิดและใช้ได้อย่างถูกต้อง
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"
แก๊ง - แก็ง - แก๊งค์ - แก๊งก์ คำไหนเขียนถูก คำไหนเขียนผิด เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง จริง ๆ คำนี้ไม่ยาก แต่อาจจะเพราะเราเห็นในหน้าหนังสือการ์ตูนจันชิน
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง รสชาติ กับ รสชาด เป็นคำที่เขียนผิดกันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจริง ๆ แล้ว รสชาติ เป็นคำที่ถูก โดยจะอ่านออกเสียงว่า รด-ชาด
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
สุภาษิตไทย รู้ไว้ ไม่ล้าสมัย สุภาษิต หมายถึง คำกล่าวที่ดีงาม มักเป็นคำสั่งสอน แนะนำให้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ หรือละเว้นจากการทำความชั่ว เป็นต้น ดังนั้น สรุปได้ว่า สุภาษิตไทย คือ คำที่มุ่งสั่งสอนให้ ประพฤติปฏิบัติดี โดยเป็นเพียง คำสั้นๆ มีความคมคาย ไพเราะ น่าฟัง จำง่าย
10 อันดับ ชื่อมงคลของผู้ชาย จากยอดการค้นหาเพื่อนำชื่อไปตั้งเป็นชื่อจริง จะเรียกว่าชื่อเข้าโรงเรียนนั่นแหละ ให้กับลูก ๆ เราจะนำชื่อที่นิยมและได้รับการสอบถามเข้ามาทั้งหมด 10 ชื่อ มาเปิดให้ดูกัน
ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
อักษรย่อ คืออะไร วันนี้เรามาทำความรู้จักกับอักษรย่อกันถึงความหมาย ที่มาที่ไป และตัวอย่าง โดยได้รวบรวมมาให้แล้วในบทความนี้ แต่ก่อนอื่นรู้หรือไม่ว่ามีชื่อเรียกของอักษรย่ออีกอย่างว่า รัสพจน์ อยากรู้แล้วใช่มั้ยหล่ะ ไปดูกันเลย
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ