ตำแหน่ง เจ้าคุณพระ ที่มาแต่อดีต ตั้งแต่โบราณ เปิดความรู้เรื่องยศ เจ้าคุณพระ หรือ พระสนมเอก ภายหลังการสถาปนา เจ้าคุณพระสินีนาฏ ในปีพ.ศ. 2562
กริยาช่อง 3 สัปดาห์ก่อนเราได้รู้จักกริยาช่อง 2 ไปแล้ว วันนี้เรามารู้จักกริยาช่อง 3 หรือกริยาช่องที่ 3 จากเรื่องกริยา 3 ช่อง กันต่อเลย เนื่องด้วยในภาษาอังกฤษแบ่งคำกริยาออกเป็น 3 ช่อง เพื่อแบ่งแยกและบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา 3 ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยที่กริยาช่อง 3 นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต แล้วมันจะต่างอะไรกับกริยาช่องที่ 2 หล่ะ เดี๋ยววันนี้เราไปดูรายละเอียดกันเลยดีกว่า
กริยาช่อง 2 (verb2) คืออะไร? กริยาช่อง 2 - Verb 2 เป็นหนึ่งในคำกริยาในภาษาอังกฤษที่ถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่อง โดยที่กริยาช่อง 2 (verb v.2) นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง เพียงแค่เติม -ed ต่อท้าย แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
ทูลเกล้าฯ อ่านว่าอย่างไร วันนี้เราจะพาไปดูคำในภาษาไทยที่แปลกอีกหนึ่งคำ คือมีรูปคำที่ถูกย่อ แต่พออ่านแล้วต้องอ่านเต็ม ๆ คำ นั่นก็คือคำว่า ทูลเกล้าฯ
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์ คือ การถอดอักษรในภาษาเดิม และเขียนให้อยู่ในรูปภาษาไทยที่อ่านได้สะดวกและเข้าใจ ซึ่งจะมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ได้
กริยา 3 ช่อง ที่เติม ed กริยาปกติ กริยาผันปกติ REGULAR VERB คือ ชุดคำกริยาภาษาอังกฤษที่เปลี่ยนรูปตาม tense แบบแค่เติม ed ได้ตามปกติ โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยนคำใหม่
เศร้าโศก | โศกเศร้า อ่านว่าอย่างไร คำว่า เศร้าโศก และ โศกเศร้า เป็นคำในภาษาไทยที่มีรูปคำแบบมี ร.เรือ เป็นคำควบกล้ำ แล้วเราสงสัยกันไหมว่าต้องอ่านออกเสียงคำว่า เศร้าโศก และ โศกเศร้า อย่างไรถึงจะถูกต้อง
คำสมาส คำสมาส เป็นคำที่เกิดจากการรวมคำสองคำซึ่งต่างก็เป็นคำบาลีหรือสันสกฤตเข้าเป็นคำเดียวกัน โดยการนำมาเรียงต่อกัน ไม่ได้มีการดัดแปลงรูปอักษร มีการออกเสียง อะ อิ อุ ระหว่างคำ
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน "เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน" หมายถึง เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา (การสะสมหรือเก็บออมทรัพย์ไว้ทีละเล็กทีละน้อยจนมีมากขึ้น)