ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ยาม,ยาม-, ยมะ, ยามกาลิก, สาม,สาม-,สาม-, ยาวกาลิก, ยาวชีวิก, คามวาสี
ยาม-
อ่านว่ายา-มะ
มะล่องก่องแก่ง - พจน์ สายอินดี้ - แปลเพลง
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed)
ยามะ
หมายถึงน. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๓, เทวดาในชั้นนี้เรียกว่า ยามเทวบุตร. (ป.).
ยามกาลิก
หมายถึง[ยามะ-] น. ของที่พระสงฆ์เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียงวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่ นํ้าอัฐบาน. (ป.). (ดู กาลิก).
พยามะ
อ่านว่าพะ-ยา-มะ
ยาม,ยาม-
หมายถึง[ยาม, ยามะ-] น. ชื่อส่วนแห่งวัน ยามหนึ่งมี ๓ ชั่วโมง รวมวันหนึ่งมี ๘ ยาม; ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น ๓ ยาม ยามหนึ่งมี ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม; (โหร) ช่วงแห่งวัน เป็นเวลายามละชั่วโมงครึ่ง กลางวันมี ๘ ยามตามลำดับคือ สุริยะ ศุกระ พุธะ จันเทา เสารี ครู ภุมมะ สุริยะ กลางคืนมี ๘ ยามตามลำดับคือ รวิ ชีโว ศศิ ศุโกร ภุมโม โสโร พุโธ รวิ; คราว, เวลา, เช่น ยามสุข ยามทุกข์ ยามเช้า ยามกิน; คนเฝ้าสถานที่หรือระวังเหตุการณ์ตามกำหนดเวลา เช่น แขกยาม ไทยยาม คนยาม, เรียกอาการที่อยู่เฝ้าสถานที่หรือระวังเหตุการณ์เช่นนั้นว่า อยู่ยาม หรือ เฝ้ายาม. (ป.).
วยามะ
หมายถึงน. มาตราวัด ยาวเท่ากับ ๑ วา. (ป. วฺยาม, พฺยาม; ส. วฺยาม).
พยาลมฤค
อ่านว่าพะ-ยา-ละ-มะ-รึก
อ่านว่ายา-มะ-กา-ลิก
พยาม,พยามะ
หมายถึง[พะยาม, พะยามะ] น. วา คือ ระยะวาหนึ่ง. (ป. พฺยาม, วฺยาม; ส. วฺยาม).
มหาวิทยาลัย
อ่านว่ามะ-หา-วิด-ทะ-ยา-ไล
สังคมวิทยา
อ่านว่าสัง-คม-มะ-วิด-ทะ-ยา