"แซ่บ" กับ "แซบ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นคำถามยอดนิยมของช่วงนี้กันเลยทีเดียวสำหรับ คำว่า "แซ่บ" หรือ "แซบ" ที่คำไหนจะเป็นคำที่ถูกต้อง
30 คำสแลงยอดนิยมในภาษาไทย คำสแลง หมายถึง ภาษาสแลง คำสแลง หรือคำคะนอง ถ้อยคำที่เป็นภาษาพูดและใช้ในกลุ่มคนบางกลุ่ม (Slang)
50 มุกเสี่ยวยอดนิยม โพสต์เรียกยอดไลก์ เข้าสู่เดือนความรัก การตั้งสเตตัสมันต้องคูล ๆ เข้าบรรยากาศหน่อย เราได้ไปคัดเอามุกเสี่ยวยอดฮิต ที่เป็นที่นิยม เอาไว้ไปโพสต์ ตั้งสเตตัสเรียกยอดไลก์กันได้ตามสบาย จะเด็ดแค่ไหนไปดูกันได้เลย
10 อันดับ ชื่อมงคลของผู้ชาย จากยอดการค้นหาเพื่อนำชื่อไปตั้งเป็นชื่อจริง จะเรียกว่าชื่อเข้าโรงเรียนนั่นแหละ ให้กับลูก ๆ เราจะนำชื่อที่นิยมและได้รับการสอบถามเข้ามาทั้งหมด 10 ชื่อ มาเปิดให้ดูกัน
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
ชื่อและตัวย่อภาษาอังกฤษระดับวุฒิปริญญาตรีของคณะต่าง ๆ ในไทย ในประเทศไทยมีคณะสาขาการเรียนมากมาย เราก็จะรู้จักเพียงคณะสาขาของตัวเองและคณะยอดนิยมเท่านั้น ซึ่งก็มีหลายคนที่อาจจะยังไม่รู้ว่าวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีในประเทศไทยมีอะไรบ้าง มีชื่อเต็มและชื่อย่อว่าอย่างไร
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
มะล่องก่องแก่ง - พจน์ สายอินดี้ - แปลเพลง กลายเป็นเพลงสุดฮิต ดังชั่วข้ามคืน ยืนยันด้วยยอดวิวที่ขึ้นหลักล้านโดยใช้เวลาไม่กี่วัน หลังจากที่โซเชียลมีเดียมีการแชร์เพลง “มะล่องก่องแก่ง” ของ พจน์ สายอินดี้
ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน - แปลเพลง หลังจากเปิดตัวเพลงมาได้ไม่นาน ก้องหล้า ยอดจำปาหรือก้องห้วยไร่ก็โด่งดังเป็นพลุแตกด้วยบทเพลง ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน ที่คนร้องได้ทั่วบ้านทั่วเมือง แต่ด้วยเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอีสานนั้นทำให้หลายคนยังสงสัยและไม่เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป